Page 222 -
P. 222

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร




               3.2 ก�รจัดก�รด้�นก�รไถพรวน (tillage management)
                   ก�รจัดก�รด้�นก�รไถพรวนโดยไม่ไถพรวนม�กเกินไป  เพร�ะก�รไถพรวนน้อยจะทำ�ให้อัตร�

          ก�รสล�ยของอินทรียวัตถุช้�ลง ขณะเดียวกันก็เหลือซ�กพืชไว้ปกคลุมผิวดินม�กขึ้น ปรกติก�รไถพรวนมี
          วัตถุประสงค์ที่จะกำ�จัดวัชพืชทำ�ให้ผิวดินแตกเป็นดินก้อนเล็กๆ และเตรียมร่องเพ�ะปลูก แต่ก�รไถพรวน

          ก็ทำ�ให้โครงสร้�งดินแตกสล�ยม�กเกินไป  จะเร่งอัตร�ก�รสล�ยตัวของเศษซ�กพืช  เพิ่มก�รกร่อนดิน
          ทำ�ล�ยที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตบ�งชนิดและทำ�ให้ดินอัดตัวแน่น จึงต้องไถพรวนดินเท่�ที่จำ�เป็นเท่�นั้น
               3.3 ก�รจัดก�รท�งเคมี (chemical management)

                   ก�รจัดก�รท�งเคมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับศัตรูพืชและธ�ตุอ�ห�รต้องคำ�นึงถึงประสิทธิภ�พก�ร
          ใช้ส�รเคมีเหล่�นั้น  เนื่องจ�กหน้�ที่ของดินประก�รหนึ่ง  คือ  ทำ�ให้เกิดภ�วะบัฟเฟอร์และลดพิษของส�ร

          เคมีต่�งๆ  ที่ลงไปในดิน  แต่เนื่องจ�กดินมีขีดคว�มส�ม�รถจำ�กัดเพียงระดับหนึ่งในก�รดูดซับธ�ตุอ�ห�ร
          และลดพิษของส�รเคมีฆ่�ศัตรูพืชเท่�นั้น แม้ว่�ส�รฆ่�ศัตรูพืชและปุ๋ยเคมีจะมีประโยชน์อนันต์ แต่ถ้�มีใน
          ดินม�กเกิดไปก็กล�ยเป็นส�รมลพิษต่อดินและนำ้�  สำ�หรับส�รฆ่�ศัตรูพืชที่ตกค้�งในดินยังฆ่�สิ่งมีชีวิตอื่น

          ที่มิใช่ตัวเป้�หม�ยของก�รกำ�จัดอีกด้วย  ดังนั้นจึงต้องกำ�หนดระบบก�รใช้ส�รฆ่�ศัตรูพืช  ในเรื่องปริม�ณ
          ที่ใช้ จังหวะเวล� และบริเวณที่ใช้อย่�งเหม�ะสม เพียงเพื่อให้บรรลุเป้�หม�ยของก�รใช้เท่�นั้น ทั้งต้องมี

          ก�รตรวจสอบ  ติดต�มและประเมินผลเป็นระยะ  เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบอันไม่พึงประสงค์  หรืออ�จใช้
          เทคนิคก�รควบคุมศัตรูพืชแบบอื่นร่วมด้วยในลักษณะผสมผส�นก็ได้
               3.4 ก�รจัดก�รเพื่อลดก�รอัดแน่นของดิน (compaction management)

                   ก�รจัดก�รเพื่อลดก�รอัดแน่นของดินมีคว�มสำ�คัญม�ก   เนื่องจ�กเมื่อดินอัดตัวแน่นจะลด
          ขน�ดของช่องว่�ง  จึงลดปริม�ณก�รแทรกซึมและกักเก็บนำ้�และอ�ก�ศ  เป็นอุปสรรคในก�รไชชอนของ

          ร�กและก�รเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตต่�งๆ  ในดิน  สภ�พดินแน่นเกิดจ�กก�รกดทับซำ้�ซ�กของย�นพ�หนะ
          และเครื่องมือกลหนัก  โดยเฉพ�ะอย่�งยิ่งเมื่อล้อของย�นพ�หนะกดทับในขณะที่ดินเปียกชื้น  ห�กมีก�ร
          ใช้เครื่องมือกลหนักอยู่เสมอ จนเกิดก�รอัดตัวแน่นของชั้นดินล่�ง ซึ่งแม้จะเป็นปัญห�ที่แก้ไขได้ แต่ก็มีค่�

          ใช้จ่�ย ท�งที่ดีจึงควรป้องกันมิให้เกิดปัญห�ดังกล่�ว ในกรณีที่พบอย่�งแน่ชัดว่�ดินล่�งในระดับใต้รอยไถ
          มีชั้นด�นเกิดขึ้น  ก็แก้ไขได้ด้วยก�รไถลึกหรือไถระเบิดดินด�น  ดังนั้นก�รไถพรวนน้อยและระมัดระวัง

          ในก�รใช้เครื่องมือกลหนัก จึงเป็นวิธีป้องกันก�รเกิดชั้นดินที่อัดตัวแน่นได้ดีที่สุด
               3.5 ก�รจัดก�รเศษซ�กพืช (residue management)
                   ก�รจัดก�รเศษซ�กพืชเพื่อให้มีวัสดุปกคลุมดินเป็นสิ่งจำ�เป็นอย่�งม�ก เนื่องจ�กดินที่ปร�ศจ�ก

          สิ่งปกคลุมจะมีปัญห�ใหญ่ 2 ประก�ร คือ เกิดก�รกร่อนดินง่�ย และเกิดชั้นแข็งปิดผิวดินเมื่อดินแห้ง ห�ก
          มีวัสดุปกคลุมผิวดิน นอกจ�กจะป้องกันปัญห�ทั้งสองประก�รแล้ว ยังช่วยให้ดินมีสภ�พเหม�ะสมสำ�หรับ

          เป็นถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตต่�งๆ เช่น แมลงและไส้เดือนดิน นอกจ�กนั้นยังลดก�รระเหยนำ้�ที่ผิวดิน นำ้�ส่วน
          นั้นจึงคงอยู่และเป็นประโยชน์ต่อพืช  ก�รจัดก�รเพื่อให้มีสิ่งปกคลุมดินทำ�ได้ 2 วิธี คือ เหลือเศษซ�กพืช
          หลังก�รเก็บเกี่ยวไว้ในแปลง  และปลูกพืชคลุมดินในพื้นที่ว่�งซึ่งมิได้ปลูกพืชหลัก  พืชคลุมดินนอกจ�ก



      218        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227