Page 172 -
P. 172

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
          คุณภาพดินเพื่อการเกษตร





          และร�ยง�นปริม�ณอินทรีย์ค�ร์บอนในดินกันโดยทั่วไป    อย่�งไรก็ต�ม  ปริม�ณอินทรีย์ค�ร์บอนในดิน
          ผันแปรต�มสภ�พภูมิประเทศ  ชนิดดิน  และภูมิอ�ก�ศ  นอกจ�กนี้ก�รที่อินทรีย์ค�ร์บอนในดินอยู่ใน

          โครงสร้�งของส�รฮิวมิกซึ่งคงทนต่อก�รสล�ยตัวม�ก  เมื่อก�รจัดก�รดินมีผลกระทบต่อก�รเปลี่ยนแปลง
          ของอินทรีย์ค�ร์บอนในดินเล็กน้อย  จึงวัดได้ย�ก  แม้ว่�ก�รเปลี่ยนแปลงดังกล่�วจะมีผลกระทบต่อ
          พฤติกรรมและกระบวนก�รของจุลินทรีย์ดินม�กก็ต�ม  นอกจ�กนี้อ�จต้องใช้เวล�หล�ยปีกว่�ที่จะแสดง

          ให้เห็นอย่�งชัดเจน ถึงผลกระทบของก�รจัดก�รดินต่อปริม�ณอินทรีย์ค�ร์บอนในดิน
                   3.2.2 ข้อดีของก�รประเมินแอกทีฟค�ร์บอน  อย่�งไรก็ต�ม  ก�รเปลี่ยนแปลงของค�ร์บอน

          ในอินทรียวัตถุส่วนที่ไม่คงตัว (labile fraction) แม้เพียงเล็กน้อยก็เป็นสัญญ�ณเบื้องต้น ที่ระบุถึงคว�ม
          เสื่อมของดินหรือผลดีของก�รปรับปรุงดิน ก่อนจะทร�บจ�กตัวชี้บอกอื่นๆ ก�รวิเคร�ะห์ปริม�ณค�ร์บอน
          ในอินทรียวัตถุส่วนที่ไม่คงตัวในดินมีคว�มสำ�คัญ  เนื่องจ�กส่วนนี้เป็นแหล่งพลังง�นและอ�ห�รสำ�หรับ

          ก�รขับเคลื่อนเส้นใยอ�ห�ร จึงมีอิทธิพลต่อวงจรธ�ตุอ�ห�รและกิจกรรมท�งชีวภ�พที่เกี่ยวข้องกับสมบัติ
          ต่�งๆ ของดิน ค�ร์บอนในอินทรียวัตถุส่วนที่ไม่คงตัวนั้นเรียกว่�แอกทีฟค�ร์บอน (active carbon) เพื่อ

          แยกออกจ�กค�ร์บอนในอินทรียวัตถุส่วนอื่นที่คงทนต่อก�รสล�ยตัว    และมีอิทธิพลต่อกิจกรรมของ
          จุลินทรีย์ดินน้อยกว่�
                       แอกทีฟค�ร์บอน  คือค�ร์บอนในอินทรียวัตถุส่วนที่ไม่คงตัวหรือมีพลวัตสูง  จุลินทรีย์

          ดินจึงใช้ประโยชน์ได้ง่�ย  แม้แต่ค�ร์บอนในมวลชีวภ�พที่ยังมีชีวิต  ได้แก่ค�ร์บอนในเซลล์จุลินทรีย์ก็อ�จ
          รวมอยู่ในค�ร์บอนประเภทนี้    อย่�งไรก็ต�ม  ตัวชี้บอกที่ใช้ประเมินอินทรียวัตถุส่วนที่แอกทีฟ  ได้แก่

          อินทรียวัตถุซึ่งเป็นอนุภ�ค (particulate organic matter, POM) และส่วนที่เบ� (light fraction, LF)
          สำ�หรับอินทรียวัตถุซึ่งเป็นอนุภ�คนั้น  มีขน�ดใหญ่กว่�อินทรียวัตถุทั่วไป  จึงแยกออกจ�กกันได้เมื่อร่อน
          ด้วยตะแกรง ส่วนอินทรียวัตถุส่วนที่เบ�มีคว�มหน�แน่นน้อยกว่�อินทรียวัตถุทั่วไป จึงแยกออกจ�กกันได้

          ด้วยก�รหมุนเหวี่ยง (Weil et al., 2003)
                   3.2.3 คว�มสัมพันธ์ของแอกทีฟค�ร์บอนกับก�รทำ�หน้�ที่ของดิน  จุดเด่นของก�รประเมิน

          แอกทีฟค�ร์บอน มี 2 ประก�ร (Gugino et al., 2009) คือ
                       1) วิเคร�ะห์ง่�ยและค่�ที่ได้มีสหสัมพันธ์กับเปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุ  เสถียรภ�พของเม็ด
          ดิน และกิจกรรมท�งชีวภ�พในดิน ซึ่งวัดจ�กอัตร�ก�รห�ยใจของดิน

                       2) เป็นตัวชี้บอกที่โดดเด่นสำ�หรับก�รประเมินคุณภ�พดิน  เนื่องจ�กบอกให้ทร�บผล
          กระทบจ�กก�รเปลี่ยนแปลงก�รจัดก�รดินได้เร็วกว่�ก�รวิเคร�ะห์อินทรียวัตถุ  จึงเป็นประโยชน์อย่�งยิ่ง

          ต่อเกษตรกรที่ต้องก�รติดต�มตรวจสอบผลก�รปรับปรุงดินแบบใหม่  (ที่เลือกม�ปฏิบัติ)  ต่อคุณภ�พดิน
          เช่น ลดก�รไถพรวน ก�รใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดใหม่ ก�รปลูกพืชคลุมดินและก�รปลูกพืชหมุนเวียน
                       สำ�หรับกร�ฟแสดงคว�มสัมพันธ์ระหว่�งปริม�ณแอกทีฟค�ร์บอนในดินกับคะแนนใน

          ภ�พที่ 6.12 ใช้กับเนื้อดินเนื้อหย�บ ป�นกล�งและละเอียด




      168        สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177