Page 174 -
P. 174
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คุณภาพดินเพื่อการเกษตร
2) ปัจจัยที่มีพลวัต ได้แก่ก�รเปลี่ยนแปลงระบบก�รใช้ที่ดิน จ�กพื้นที่ธรรมช�ติเป็น
พื้นที่เกษตรกรรม ปลูกพืชที่ใช้แคตไอออนเบสม�ก และก�รใช้ปุ๋ยก่อกรด เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมและยูเรีย
อย่�งต่อเนื่อง มีแนวโน้มที่จะทำ�ให้พีเอชของดินลดลง
3.3.2 คว�มสัมพันธ์กับก�รทำ�หน้�ที่ของดิน พีเอชของดินมีผลกระทบต่อสมบัติและกระบวน
ก�รท�งเคมีและชีวภ�พของดิน ตลอดจนก�รเจริญเติบโตของพืชเป็นอย่�งม�ก กล่�วคือพีเอชของดินมี
อิทธิพลต่อก�รละล�ยของธ�ตุอ�ห�ร และก�รเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ต่�งๆ โดยพืชและจุลินทรีย์แต่ละ
ชนิดต้องก�รช่วงพีเอชของดินที่เหม�ะสมสำ�หรับก�รเจริญเติบโต
3.3.3 ก�รแจงผลก�รประเมิน พีเอชของดินที่ตำ่� 5.5 ถือว่�ไม่เหม�ะสมจึงได้คะแนน 0 ห�ก
พีเอชสูงขึ้นอยู่ในช่วง 5.4-5.8, 5.8-6.2 และ 6.2-6.4 ได้คะแนน 0-30, 30-70 และ 70-100 ต�มลำ�ดับ
และคงระดับคะแนน 100 สำ�หรับพีเอชของดิน 6.4-7.2 ซึ่งถือว่�เป็นช่วงที่เหม�ะสมที่สุด และคะแนนจะ
ลดลงเมื่อพีเอชของดินมีค่�สูงกว่� 7.2 (ภ�พที่ 6.13)
100
90
80
70
60
Score 50
40
30
20
10
0
5 5.5 6 6.5 7 7.5 8
pH
ภ�พที่ 6.13 กร�ฟแสดงคว�มสัมพันธ์ระหว่�งพีเอช (pH) ของดินกับระดับคะแนน
แถบล่�ง กล�งและบนแสดงพิสัยคะแนนเชิงคุณภ�พดิน ช่วงตำ่� ป�นกล�ง และสูงต�มลำ�ดับ
3.4 ธ�ตุอ�ห�รพืชที่เป็นประโยชน์ในดิน (soil available plant nutrients)
ก�รประเมินระดับคว�มอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยวัดระดับคว�มเป็นประโยชน์ของธ�ตุอ�ห�รต่�งๆ
ช่วยให้ทร�บว่�ดินมีข้อจำ�กัดด้�นธ�ตุอ�ห�รธ�ตุใดธ�ตุหนึ่งหรือไม่ เนื่องจ�กก�รข�ดธ�ตุอ�ห�รแม้เพียง
ธ�ตุเดียวก็ทำ�ให้พืชไม่เจริญเติบโต ต�มกฎของ Liebig ที่ว่� “ห�กพืชได้รับธ�ตุอ�ห�รอื่นๆ อย่�งเพียงพอ
ยกเว้นธ�ตุหนึ่งที่ข�ดแคลน ก�รเจริญเติบโตของพืชจะผันแปรต�มธ�ตุที่ข�ดแคลนนั้น” ดังภ�พที่ 6.14
170 สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย