Page 34 -
P. 34
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และการเข้าสู่สมดุลของประชากร 27
บทที่ 1 องค์ประกอบทางพันธุกรรม
วิธีการค�านวณ จากความถี่ของยีนเริ่มต้น (n = 0)
a
A
ในเพศผู้ ความถี่ของยีน X มีค่าเท่ากับ 0.3 และความถี่ของยีน X มีค่าเท่ากับ 0.7
a
ในเพศเมีย ความถี่ของยีน X มีค่าเท่ากับ 0.6 + 0.15 = 0.75 และความถี่ของยีน X มีค่าเท่ากับ
A
0.1 + 0.15 = 0.25
ส�าหรับความแตกต่างระหว่างความถี่ของยีน X ในเพศเมียและเพศผู้ในชั่วที่ 0 ก�าหนดให้เป็น
A
D = 0.25 - 0.7 = - 0.45
0
ส่วนความถี่ของยีนเพศผู้ในชั่วที่ 1 เท่ากับ ความถี่ของยีนในเพศเมีย
A
ความถี่ของยีน X ในลูกเพศผู้ เท่ากับ 0.75
ความถี่ของยีน X ในลูกเพศผู้ เท่ากับ 0.25
a
A
ส่วนความถี่ของยีน X และ X ในลูกเพศเมีย จะมีความถี่ของจีโนไทป์ในเพศเมียในชั่วที่ 1 ดังนี้
a
เซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ ควำมถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูก
A A
(0.6 + 0.15) X A 0.3 X A 0.225 X x
A a
0.7 X a 0.525 X x
(0.15 + 0.1) X a 0.3 X A 0.075 X x
A a
0.7 X a 0.175 X x
a a
A a
a a
สรุป ความถี่ของจีโนไทป์ในลูกเพศเมีย คือ 0.225 X X + 0.6 X X + 0.175 X X
A A
ค�านวณความถี่ของยีน X ในชั่วที่ 1 คือ 0.225 + ½(0.6) = 0.525
A
ค�านวณความถี่ของยีน X ในชั่วที่ 1 คือ 0.175 + ½(0.6) = 0.475
a
A
ส่วนค่าความแตกต่างระหว่างความถี่ของยีน X ในเพศเมียและเพศผู้ในชั่วที่ 1
เป็น D = 0.475 - 0.25 = 0.225
1
น�าค่าที่ค�านวณได้มาสร้างกราฟการเปลี่ยนแปลงความถี่ในแต่ละชั่วของความถี่ของยีน a ในเพศผู้
จะแสดงดังภาพ