Page 13 -
P. 13
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
6 พันธุศาสตร์ประชากร
สำาหรับการปรับปรุงพันธุ์
สรุป ประชากรจะเข้าสู่สภาพสมดุลแบบฮาร์ดี-ไวน์เบริ์ก (Hardy-Weinberg equilibrium)
เมื่อมีการผสมแบบสุ่มหนึ่งครั้ง โดยความถี่ของจีโนไทป์และยีนจะคงที่จากชั่วหนึ่งไปอีกชั่วหนึ่ง
และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
ตัวอย่างการพิสูจน์ว่าความถี่ของจีโนไทป์และยีนจะมีค่าคงที่จากชั่วหนึ่งไปยังอีกชั่วหนึ่งได้
เมื่อก�าหนดให้ ประชากรหนึ่งมี genotypic array เท่ากับ 0.3 AA + 0.3 Aa + 0.4 aa ซึ่งค่า
ความถี่ของแต่ละจีโนไทป์ค�านวณได้จากจ�านวนที่เกิดขึ้นของแต่ละจีโนไทป์นั้น ในกรณีนี้ ประชากร
6
พันธุศาสตร์ประชากรกับการปรับปรุงพันธุ์
ที่ท�าการศึกษามีจ�านวนต้นจีโนไทป์ AA 30 ต้น จากประชากร 100 ต้น เพราะฉะนั้น ค�านวณความถี่ของ
ที่คํานวณได้จากจํานวนที่เกิดขึ้นของแต่ละจีโนไทป์นั้นในกรณีนี้ ประชากรที่ทําการศึกษามีจํานวนต้นจีโนไทป์
จีโนไทป์ AA เท่ากับ 30/100 หรือ 0.3 จ�านวนต้นที่มีจีโนไทป์ Aa และ aa เท่ากับ 30 และ 40 ต้น
AA 30 ต้น จากประชากร 100 ต้น เพราะฉะนั้นคํานวณความถี่ของจีโนไปท์ AA เท่ากับ 30/100 หรือ 0.3
ตามล�าดับ เมื่อค�านวณความถี่ของจีโนไทป์ Aa มีค่าเท่ากับ 0.3 และความถี่ของจีโนไทป์ aa เท่ากับ 0.4
จํานวนต้นที่มีจีโนไทป์ Aa และ aa เท่ากับ 30 และ 40 ต้น ตามลําดับเมื่อคํานวณความถี่ของจีโนไทป์ Aa มี
ซึ่งประชากรนี้ประกอบด้วย 3 จีโนไทป์ และมีการผสมกันอย่างสุ่มในทุกจีโนไทป์ ท�าให้เกิดการสร้างคู่ผสม
ค่าเท่ากับ 0.3 และความถี่ของจีโนไทป์ aa เท่ากับ 0.4 ประชากรนี้ประกอบด้วย 3 จีโนไทป์และมีการผสมกัน
และความถี่ของจีโนไทป์และยีน ดังนี้
อย่างสุ่มในทุกจีโนไทป์ ทําให้เกิดการสร้างคู่ผสมและความถี่ของจีโนไทป์และยีนดังนี้
ความถี่ที่ ความถี่ที่ ความถี่ของแต่ละจีโนไทป์ในรุ่นลูก
คู่ผสม
เกิดขึ้น เกิดขึ้น AA Aa aa
2
AA x AA D 2 (0.3) 2 (0.3) =0.09 - -
AA x Aa 2DH 2(0.3)(0.3) (0.3)(0.3)=0.09 (0.3)(0.3)=0.09 -
AA x aa 2DR 2(0.3)(0.4) - 2(0.3)(0.4)=0.24 -
2
2
2
Aa x Aa H 2 (0.3) 2 ¼(0.3) =0.0225 ½(0.3) =0.045 ¼(0.3) =0.0225
Aa x aa 2HR 2(0.3)(0.4) - (0.3)(0.4)=0.12 (0.3)(0.4)=0.12
2
aa x aa R 2 (0.4) 2 - - (0.4) =0.16
ผลรวม 1 1 0.2025 0.495 0.3025
สรุป ความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูกมี genotypic array เท่ากับ 0.2025 AA + 0.495 Aa + 0.3025 aa
สรุป ความถี่ของจีโนไทป์ในรุ่นลูกมี genotypic array เท่ากับ 0.2025AA + 0.495Aa + 0.3025aa
ความถี่ของยีน A ในรุ่นลูก เท่ากับ 0.2025+0.2475 = 0.45
ความถี่ของยีน A ในรุ่นลูก เท่ากับ 0.2025 + 0.2475 = 0.45
ความถี่ของยีน aในรุ่นลูก เท่ากับ 0.3025+0.2475 = 0.55หรือ 1-0.45
ความถี่ของยีน a ในรุ่นลูก เท่ากับ 0.3025 + 0.2475 = 0.55 หรือ 1 - 0.45
โดยที่ ค่า 0.2475 คํานวณจาก 0.495/2
โดยที่ ค่า 0.2475 ค�านวณจาก 0.495
2
และเมื่อทําการผสมพันธุ์ระหว่างจีโนไทป์ที่ปรากฏในประชากรรุ่นลูกอีกครั้ง จะพบความถี่ของจีโนไทป์และยีน
ในรุ่นหลานเป็นดังนี้
ความถี่ที่ ความถี่ของแต่ละจีโนไทป์ในรุ่นหลาน
คู่ผสมรุ่นลูก ความถี่ที่เกิดขึ้น
เกิดขึ้น AA Aa aa
AA x AA p 4 (0.2025) 2 0.0410 - -
3
AA x Aa 4p q 2(0.2025)(0.495) 0.1002 0.1002 -
2 2
AA x aa 2p q 2(0.2025)(0.3025) - 0.1225 -
2 2
Aa x Aa 4p q (0.495) 2 0.0613 0.1225 0.0613
3
Aa x aa 4pq 2(0.495)(0.3025) - 0.1497 0.1497
4
aa x aa q (0.3025) 2 - - 0.0915