Page 47 -
P. 47

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ในปจจุบันชุมชนริมน้ําเริ่มลดนอยลง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ดาน เชน ความเจริญของ

               สังคมเมือง การคมนาคมที่เนนทางบกเปนหลัก เปนตน เมื่อวิเคราะหถึงสาเหตุของปญหาในการตั้งถิ่นฐาน
               บริเวณลุมแมน้ําเจาพระยา จังหวัดชัยนาท พบวาชุมชนมีความยากจนและไมมีที่ดินเปนของตนเองจึงกอใหเกิด

               การอพยพยายถิ่นและกอใหเกิดปญหาของการบดบังทัศนียภาพบริเวณริมน้ํา

                       ทางในการแกไขปญหาดังกลาวดวยการนําการทองเที่ยวเขามาเปนสวนชวยสรางรายไดใหกับชุมชนซึ่ง
               เปนการแกปญหาความยากจนใหกับชุมชน เพื่อใหชุมชนมีรายไดและสามารถอยูไดดวยตนเองอยางยั่งยืน

               ในที่สุด โดยมีประเด็นทางสถาปตยกรรม คือ ศึกษาลักษณะเดนของงานสถาปตยกรรมในชุมชนริมน้ําแลว
               นํามาประยุกตใชในโครงการดวยการนํามาออกแบบที่วาง (space) และนํามาประกอบเปนงานสถาปตยกรรม

               ทั้งนี้เพื่อใหงานสถาปตยกรรมของโครงการเกิดความสัมพันธตอสิ่งแวดลอมและชุมชนมากที่สุด
                       กระบวนการวิเคราะหในขั้นตางๆ นั้นทําใหไดโปรแกรมที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่นี้ คือ เปนทาการ

               ทองเที่ยวชุมชน โดยเปนทั้งทาเรือและศูนยการทองเที่ยวชุมชนดวย มีการแบงการทองเที่ยวออกเปน 4 จุด คือ

               วิถีชาวน้ํา เลิศล้ําคุณคา พาไปอิ่มทอง และของดีเมืองชัยนาท ซึ่งทั้ง 4 จุดนั้นมีความสัมพันธเชื่อมโยงกัน
               ทางดานโปรแกรม ฟงกชันการใชงาน และลักษณะทางสถาปตยกรรม ตามการวิเคราะหเกี่ยวกับลักษณะเดน

               และองคประกอบของชุมชนโดยรอบพื้นที่นั้น

                       งานสถาปตยกรรมในขั้นสุดทายของการออกแบบไดนําเอาลักษณะการเชื่อมตอที่วาง (space) ของ
               เรือนริมน้ําและลักษณะการเปดชองเปดเพื่อระบายอากาศแบบธรรมชาติ (passive) ตามแบบเรือนริมน้ําเดิม

               มาประยุกตใช โดยใชวัสดุประกอบอาคารเปนไมทั้งโครงการ เนื่องจากเปนโครงสรางที่เบา สามารถหาไดงาย

               ในทองถิ่น และเหมาะสมกับวิถีชีวิตริมน้ําเปนอยางดี


                       ณักษ กุลิสร และคณะ (2553)  ไดศึกษาวิจัยเรื่อง แผนการตลาดการทองเที่ยวเชิงบูรณาการ
               บนฐานขอมูลพฤติกรรมนักทองเที่ยวและการมีสวนรวมของชุมชนจังหวัดชัยนาท ผลการศึกษาพบวา ศักยภาพ

               ของผลิตภัณฑการทองเที่ยว (สิ่งดึงดูดใจ) ของจังหวัดชัยนาทนั้น การทองเที่ยวทางศาสนา การทองเที่ยวใน

               แหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น และการทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร เปนรูปแบบการทองเที่ยวที่ผูมีสวนได
               สวนเสียจัดอันดับสูงสุด นอกจากนี้ ความตองการ/ ความสนใจในแหลงทองเที่ยว พบวา 6 อันดับแรกอยูใน

               กลุมการทองเที่ยวเชิงศาสนา เชน วัดธรรมามูลวรวิหาร วัดปากคลองมะขามเฒา วัดไกลกังวล วัดมหาธาตุ
               เปนตน สวนการทองเที่ยวในแหลงทองเที่ยวที่มนุษยสรางขึ้น ไดแก เขื่อนเจาพระยาและสวนนก

                       การแบงสวนการตลาดทองเที่ยวจังหวัดชัยนาท พบวานักทองเที่ยวแบงออกไดเปน 3 กลุม

               ประกอบดวย
                       1) กลุมคนรักชัยนาท เปนกลุมนักทองเที่ยวที่มีคาเฉลี่ยอยูในระดับสูงในทุกดาน ไมวาจะเปนเหตุจูงใจ

               และความคิดเห็นตอคุณคาแหลงทองเที่ยวจังหวัดชัยนาท

                       2) กลุมชัยนาทพาเพลิน เปนกลุมนักทองเที่ยวที่มีคาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลางในทุกดาน ยกเวนดาน
               ความรูสึกที่ดีตอจังหวัดชัยนาทมีคาเฉลี่ยระดับสูง





                                                          2 - 28
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52