Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       ขั้นที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ (product development) เปนการสรางสินคาขึ้นมาจําลองใหเหมือน

               จริง ซึ่งในขั้นนี้เปนการลงทุนมาก ไดแก การจัดการความพึงพอใจของผูบริโภค การพัฒนาขั้นพื้นฐานและการ
               ทดสอบ การทดสอบหนาที่ของผลิตภัณฑ การทดสอบผูบริโภค การกําหนดตรา การบรรจุภัณฑ

                       ขั้นที่ 7 การทดสอบตลาด (market testing) เปนการนําผลิตภัณฑที่พัฒนาแลวไปทดสอบการยอมรับ

               ของตลาดเปาหมายเพื่อหาขอบกพรองตางๆ นํามาแกไขปรับปรุง ถาสินคาเปนที่ยอมรับในกลุมผูบริโภค ฝาย
               จัดการจึงจะนําผลิตภัณฑออกวางจําหนายจริง

                       ขั้นที่ 8 การผลิตเชิงพาณิชย การนําออกจําหนายสูตลาด (commercialization) เปนการตัดสินใจนํา
               ผลิตภัณฑใหมออกสูตลาด ซึ่งในขั้นนี้กิจการจะใชตนทุนสูงมากที่สุด เพราะตองผลิตสินคาเต็มที่และตอง

               ตัดสินใจเกี่ยวกับจํานวนการผลิตที่เหมาะสม


                       ในงานวิจัยของณักษ กุลิสร และคณะ (2553: 37) ไดมีการวิเคราะหศักยภาพผลิตภัณฑการทองเที่ยว

               ของจังหวัดชัยนาท โดยใชแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑของบริษัท Kotler  and  Armstrong  โดยผาน
               กระบวนการวิจัยและพัฒนา เพื่อนําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑใหม (new product development) ทั้งนี้เปน

               การพัฒนาผลิตภัณฑเดิมโดยการปรับปรุง (improvement) ดัดแปลง (modifications) และออกตราสินคา

               ใหม (new brands) ซึ่งการพัฒนาผลิตภัณฑใหมมีขั้นตอนที่สําคัญ 8 ขั้นตอน ดังนี้
                       1.  การสรางความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑใหม (idea  generation)  เปนจุดเริ่มตนของการพัฒนา

               ผลิตภัณฑใหมโดยการคนหาความคิดตางๆ เกี่ยวกับผลิตภัณฑใหมที่เปนไปไดและมองเห็นลูทางที่จะขาย

               ผลิตภัณฑนั้น ซึ่งจะชวยใหธุรกิจบรรลุวัตถุประสงคได ธุรกิจโดยทั่วไปสามารถคนหาความคิดเกี่ยวกับ
               ผลิตภัณฑใหมไดจาก 1) ลูกคา 2) นักวิทยาศาสตร 3) คูแขงขัน 4) พนักงานขายและคนกลาง 5) ฝายบริหาร

               ระดับสูง 6) แหลงอื่นๆ เชน หนวยงานวิจัยทางการตลาด ตัวแทนโฆษณา เปนตน
                       2. การกลั่นกรองและการประเมินความคิด (screening and evaluation of idea) เปนการพิจารณา

               และกลั่นกรองความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑใหมที่สรางขึ้นในขั้นตอนที่ 1 วาความคิดใดเปนความคิดที่ดีและ

               เหมาะสมที่สุดที่จะนํามาวิเคราะหและพัฒนาผลิตภัณฑใหมในขั้นตอไป ซึ่งบริษัทควรจูงใจพนักงานโดยการให
               รางวัล หากพนักงานไดนําเสนอความคิดใหมๆ ที่เปนประโยชนแกบริษัท

                       3.  การพัฒนาและการทดสอบความคิด (concept  development  and  testing)  เปนขั้นที่นํา
               ความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑใหมไปทดสอบกับผูบริโภคที่เปนกลุมเปาหมาย โดยจะนําผลลัพธจากการทดสอบ

               ความคิดไปปรับปรุงคุณสมบัติและผลประโยชนของผลิตภัณฑที่มีความสําคัญตอลูกคา รูปแบบของคําถามเพื่อ

               ใชในการทดสอบความคิดมีดังนี้ 1) ผลประโยชนอะไรบางจากผลิตภัณฑที่สามารถจูงใจทานได 2) ลักษณะ
               ใดบางของผลิตภัณฑที่ทานมีความสนใจมากหรือสนใจนอย 3) ขอดีพื้นฐานของผลิตภัณฑที่ใชอยูในปจจุบันคือ

               อะไร 4) ผลิตภัณฑมีความเหมาะสมดานราคาหรือไม 5) ทานจะซื้อผลิตภัณฑบอยครั้งเพียงใด 6) ผลิตภัณฑ

               ควรจะมีการปรับปรุงอยางไร
                       4. การพัฒนากลยุทธการตลาด (marketing strategy development) เปนการพัฒนาเครื่องมือทาง

               การตลาดเพื่อใชในการแนะนําผลิตภัณฑเขาสูตลาด ใหสามารถตอบสนองความตองการของตลาดเปาหมาย ซึ่ง


                                                          2 - 25
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49