Page 46 -
P. 46

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ


                       1) งานวิจัยที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาท

                       นิวัติ เอี่ยมเที่ยง ภัทรา ถิรลาภ และอริสสา ฤทธิกาญจน (2540) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ภูมิปญญาของ

               หมอพื้นบานที่มีความสัมพันธตอภาวะสุขภาพจิตของผูรับบริการ: กรณีศึกษาหมอพื้นบานจังหวัดชัยนาท
               มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาภูมิปญญาของหมอพื้นบานที่มีความสัมพันธตอภาวะสุขภาพจิตของผูรับบริการ โดยวิธี

               กรณีศึกษาทางมานุษยวิทยาและการสังเกต กลุมตัวอยางแบงออกเปน 2  กลุม ไดแก หมอพื้นบานและ
               ผูรับบริการกับหมอพื้นบาน จํานวนกลุมละ 48 ราย การสุมตัวอยางหมอพื้นบานใชการสุมแบบเจาะจง คือ

               เจาะจงหมอพื้นบานที่ไดรับความนิยมสูงสุดในจังหวัดชัยนาทและไมเคยถูกทําการศึกษาอื่นใดมากอน โดย
               แบงเปนหมอไสยศาสตร จํานวน 26 ราย หมอน้ํามันมนตร จํานวน 10 ราย หมอสมุนไพร จํานวน 10 ราย

               และหมอนวดไทย จํานวน 2 ราย สวนผูรับบริการใชการสุมตัวอยางแบบงาย คือ สุมผูรับบริการที่รับบริการกับ

               หมอพื้นบานอยูในขณะนั้นหรือเคยรับบริการในอัตราสวน 1:1 การเก็บรวบรวมขอมูล ใชการสัมภาษณจาก
               แบบสัมภาษณที่ทางคณะผูศึกษาสรางขึ้น วิเคราะหขอมูลโดยหาคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

               ฐานนิยม T-test และไคสแควร

                       ผลการศึกษาพบวา 1) ภูมิหลังทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของหมอพื้นบานที่มีความสัมพันธ
               กับคะแนนภาวะสุขภาพจิตของผูรับบริการหลังรับบริการ ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส การบวชเรียน/

               บวชพราหมณ สภาพการอานออกเขียนได พื้นเพดั้งเดิมและระยะเวลาที่อาศัยอยูในบาน อยางมีนัยสําคัญทาง

               สถิติที่ระดับ 0.05
                       2) ภูมิหลังการเปนหมอพื้นบานถึงปจจุบันที่มีความสัมพันธกับคะแนนภาวะสุขภาพจิตของผูรับบริการ

               หลังรับบริการ ไดแก ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ แหลงความรูที่ศึกษา การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม การ
               ปฏิบัติตัวพิเศษ วิธีการรักษาตนเองและผูรับบริการ เฉลี่ยอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                       3) องคความรูเกี่ยวกับภูมิปญญาของหมอพื้นบานที่มีความสัมพันธกับคะแนนภาวะสุขภาพจิตของ

               ผูรับบริการหลังรับบริการ ไดแก การวินิจฉัยอาการหรือโรคโดยการนั่งทางใน การรักษาอาการหรือโรคโดย
               สมุนไพรตํารับ และคาใชจายในการรักษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

                       4) ลักษณะทั่วไปของผูรับบริการที่มีความสัมพันธกับคะแนนภาวะสุขภาพจิตของผูรับบริการหลังรับ
               บริการ ไดแก อายุ ระยะทางจากบานผูรับบริการถึงบานหมอพื้นบาน และระยะทางจากบานผูรับบริการถึง

               สถานบริการสาธารณสุข อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


                       ขัติยา ฉัตรเพชร (2549) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง ทาการทองเที่ยวชุมชนริมน้ํา จังหวัดชัยนาท พบวาชุมชน

               ริมน้ําเปนการตั้งถิ่นฐานในการอยูอาศัยและหาเลี้ยงชีพของผูคนในบริเวณพื้นที่ริมน้ํา เกิดเปนลักษณะวิถีชีวิตที่

               นาสนใจและมีงานสถาปตยกรรมเปนเอกลักษณของตนเอง งานสถาปตยกรรมดังกลาวนี้เกิดจากการสืบทอด
               ภูมิปญญาของทองถิ่น ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวาเปนลักษณะทางสถาปตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอม

               ที่อยูริมน้ํามากที่สุด


                                                          2 - 27
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51