Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิปญญาทองถิ่น การแบงปนผลประโยชน การจัดตั้งหนวยงานดูแลภูมิปญญาทองถิ่นและคณะกรรมการ
รวมถึงมาตรการในการจัดทําฐานขอมูลภูมิปญญาทองถิ่นใหเปนระบบ เพื่อเปนการสงเสริมและอนุรักษใหมีการ
ถายทอดความรู การสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นใหคงอยู และสามารถจัดสรรประโยชนทางเศรษฐกิจใหแกชุมชน
และผูสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นไดอยางเหมาะสมและเปนธรรม
ประชิด ทิณบุตร, ธีระชัย สุขสวัสดิ์ และอดิสรณ สมนึกแทน (2559) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง การออกแบบ
พัฒนาตราสัญลักษณและรูปลักษณบรรจุภัณฑเพื่อเชื่อมโยงการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสําหรับผลิตภัณฑ
สุขภาพและความงามของกลุมวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท ผลการศึกษาพบวา ผลิตภัณฑดานสุขภาพและ
ความงามของผูประกอบกลุมวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งสิ้น 8 ราย มีภาพรวมดานมาตรฐานอัตลักษณและคุณภาพ
ของการออกแบบตราสัญลักษณ ดานมาตรฐานและคุณภาพการออกแบบรูปลักษณบรรจุภัณฑ และดาน
ภาพรวมของสื่อการรับรูที่เชื่อมโยงถึงการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของจังหวัดชัยนาท โดยใชอัตลักษณจังหวัด
ชัยนาทเปนสื่อสรางสรรค คือ นก วัด เขื่อน เปนองคประกอบรวมนั้น เปนผลงานการออกแบบที่มี
ประสิทธิภาพที่เปนไปตามวัตถุประสงคของการวิจัยมากที่สุด อยูในระดับมาก
ผลจากการออกแบบตราสัญลักษณและรูปลักษณของบรรจุภัณฑครั้งนี้ทําใหไดชุดผลงานจริงและ
ผลงานตนแบบ ที่มีความสมบูรณทั้งสวนประกอบของแบบโครงสรางและแบบกราฟกอัตลักษณสําหรับบรรจุ
ภัณฑสินคา ไดแก กลุมวิสาหกิจที่เขารวมโครงการทั้ง 8 ราย ผูประกอบการสามารถนําไปใชประโยชนได และ
ใชเปนตนแบบจริงในการวางแผน ทดลองผลิตจริง และจัดจําหนาย การจดลิขสิทธิ์ตราสัญลักษณและ
เครื่องหมายการคา และยังสามารถสรางมูลคาเพิ่ม สรางภาพลักษณที่ดีตอสินคา หรือใชเปนผลิตภัณฑทดสอบ
ทางการตลาดตอคูคาและผูบริโภคไดจริงอยางเหมาะสมกับขีดความสามารถทางการคา การผลิตและการลงทุน
ของแตละราย ซึ่งคุณลักษณะของกราฟกลักษณที่ใชบรรจุในผลิตภัณฑสินคานั้น ผูวิจัยไดออกแบบตามแนวคิด
เศรษฐกิจสรางสรรคและกรอบแนวคิดของการวิจัยใหใชประโยชนในการสื่อสาร การเชื่อมโยงถึงการทองเที่ยว
เชิงวัฒนธรรมของจังหวัดชัยนาท
ญาณภา บุญประกอบ และคณะ (2560) ไดศึกษาวิจัยเรื่อง อาหารพื้นถิ่นกับกลไกในการสงเสริม
การทองเที่ยวเชิงสรางสรรค: กรณีศึกษากลุมชาติพันธุลาวครั่ง จังหวัดชัยนาท โดยมีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษา
ภูมิปญญาอาหารตํารับลาวครั่ง และ 2) เพื่อสรางกลไกในการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรคจากอาหาร
พื้นถิ่นลาวครั่ง กรณีศึกษากลุมชาติพันธุลาวครั่ง จังหวัดชัยนาท เปนการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งคณะวิจัยทําการ
ตรวจสอบความแมนตรงของขอมูลดวยหลักการตรวจสอบสามเสา โดยเก็บขอมูลปฐมภูมิจากคนในกลุม
ชาติพันธุลาวครั่งและผูมีสวนเกี่ยวของ ไดแก ประชาชนทองถิ่น ผูนําชุมชน องคกรภาครัฐทองถิ่น และองคกร
ภาครัฐระดับจังหวัด ดวยวิธีการสังเกตแบบมีสวนรวม การสัมภาษณเชิงลึก การสนทนากลุม และการสนทนา
กลุมยอย และมีการคนควาวิจัยเอกสาร ตํารา บทความ แผนพับ และงานวิจัยที่เกี่ยวของ
จากการศึกษาพบวา กลุมชาติพันธุลาวครั่งในจังหวัดชัยนาทมีภูมิปญญาอาหารตํารับลาวครั่งมากมาย
เชน ปลารา ปลาดุกตมปลารา แจวไก แกงเห็ดระโงก และขนมแดกขาวโพด การศึกษาครั้งนี้ไดนําเสนอ
2 - 32