Page 53 -
P. 53
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมทองถิ่นอยางชัดเจน ผลิตภัณฑมีความคงทนถาวร สามารถเสริมสรางรากฐานทาง
เศรษฐกิจชุมชนใหมีความเขมแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได และมีจุดออนในเรื่องของวัตถุดิบหายากมากขึ้น
การขาดแคลนแรงงานประเภทชางฝมือขั้นสูงและขาดองคความรูที่สามารถสงเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑของ
กลุมอาชีพ โอกาสในการพัฒนาผลิตภัณฑสูเศรษฐกิจสรางสรรคนั้นพบวา กลุมอาชีพผลิตภัณฑกะลามะพราว
ในจังหวัดนครปฐมสามารถพัฒนาใหเปนธุรกิจสรางสรรคอยางยั่งยืนไดดวยปจจัยสนับสนุนหลายประการไดแก
1) ความเหมาะสมในเรื่องของโลจิสติกส 2) การสนับสนุนจากรัฐบาล และ 3) ผลิตภัณฑภูมิปญญาทองถิ่นเปน
ที่ตองการของผูบริโภคในประเทศตางๆ ที่นิยมสินคาและผลิตภัณฑที่เปนงานชางฝมือและแสดงออกถึง
เอกลักษณทางวัฒนธรรม
4. การเทียบเคียงการดําเนินงานของกลุมอาชีพผลิตภัณฑภูมิปญญาทองถิ่นที่ประสบความสําเร็จใน
ดานปฏิบัติงานมีความคลายคลึงกันในประเด็นการมีโครงสรางองคกรที่เขมแข็ง สมาชิกในกลุมมีความรู
ความสามารถและมีทักษะทางอาชีพ มีการประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม และมีวิสัยทัศนในการบริหาร
จัดการ และกลุมอาชีพมีกลยุทธที่ดี ตลอดจนมีการคนหากลยุทธใหมๆ ในการพัฒนาผลิตภัณฑอยูเสมอ
5. แนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑมีประเด็นหลักๆ ในการพัฒนา 4 ดาน ไดแก 1) ดานการบริหาร
จัดการองคกร 2) ดานการบริหารจัดการดานการตลาด 3) ดานการบริหารจัดการดานการผลิตและบริการ และ
4) ดานการปรับปรุงและพัฒนาธุรกิจชุมชนสูความยั่งยืน การพัฒนาในทุกดานมีรากฐานมาจากแนวคิดการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจสรางสรรคบนพื้นฐาน 7 ประเด็น ไดแก 1) การใชองคความรู 2) การศึกษา 3) การ
สรางสรรคงาน 4) การใชทรัพยสินทางปญญาที่เชื่อมโยงกับพื้นฐานทางวัฒนธรรม 5) วัฒนธรรม 6) ภูมิปญญา
และ 7) เทคโนโลยี/ นวัตกรรมสมัยใหมซึ่งเปนแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑภูมิปญญาทองถิ่นกะลามะพราว
ในจังหวัดนครปฐมเพื่อสงเสริมเศรษฐกิจสรางสรรคใหมีความกาวหนามั่นคง มั่นคั่งและยั่งยืนตอไป
จากการทบทวนแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ พบวายังไมมีการศึกษาวิจัยในประเด็น
ภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาทกับการสงเสริมการทองเที่ยวอยางยั่งยืนและการสรางคุณคาเพิ่มใหแก
ผลิตภัณฑชุมชนโดยตรง ผูวิจัยจึงมุงนําแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่น ผลิตภัณฑชุมชน และ
การประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวและสรางคุณคาเพิ่มใหแกผลิตภัณฑชุมชน มาเปน
สวนหนึ่งของการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการภาคสนาม เพื่อแสดงใหเห็นความหลากหลายและความโดดเดน
ของภูมิปญญาทองถิ่นจังหวัดชัยนาท ดังจะไดนําเสนอในบทตอไป
2 - 34