Page 45 -
P. 45

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ประกอบดวย 3 สวน คือ 1) ขนาดโครงสรางและพฤติกรรมของตลาดเปาหมาย 2) การพัฒนากลยุทธทาง

               การตลาด 3) ยอดขายและกําไรตามเปาหมายในระยะยาว
                       5.  การวิเคราะหทางธุรกิจ (business  analysis)  เปนการวิเคราะหยอดขาย ตนทุนและกําไรของ

               ผลิตภัณฑใหม ถาพบวามีกําไรก็จะนําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑ (product  development)  ในขั้นตอไป

               การวิเคราะหทางธุรกิจถือเปนขั้นตอนหนึ่งในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑใหม ซึ่งประกอบดวยขั้นตอนที่
               หลากหลายเพื่อขยายความคิดที่มีอยูไปสูโครงการของบริษัทที่สามารถเปนไปไดมากที่สุด

                       6. การพัฒนาผลิตภัณฑ (product development)  เปนการนําแนวความคิดผลิตภัณฑใหมที่ผาน
               การวิเคราะหทางธุรกิจมาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ โดยการสรางผลิตภัณฑขึ้นมาจําลองแบบทุกอยางเหมือน

               ของจริง ในขั้นนี้จะใชการลงทุนมากและจะตองตอบคําถามเกี่ยวกับผลิตภัณฑวาสามารถเปลี่ยนแปลง
               ผลิตภัณฑโดยใชเทคนิคตางๆ ไดหรือไม และลูกคาจะยอมรับเพียงใด เพื่อทําใหผลิตภัณฑสามารถตอบสนอง

               ความตองการของผูบริโภคได

                       7. การทดสอบตลาด (market testing) เปนการนําผลิตภัณฑจํานวนหนึ่งไปทดสอบกับกลุมผูบริโภค
               โดยใชวิธีเหมือนนําผลิตภัณฑออกวางในตลาดจริง โดยกําหนดตลาดตัวอยางที่เปนตัวแทนในการทดสอบ

               รวมทั้งใชเครื่องมือทางการตลาดอื่นๆ เชน การโฆษณา เพื่อดูปฏิกิริยาตอบสนองตอผลิตภัณฑใหมของผูบริโภค

                       8. การดําเนินธุรกิจ (commercialization) เปนการนําผลิตภัณฑใหมออกสูตลาดหลังจากที่มีการ
               ทดสอบผลิตภัณฑ ซึ่งในขั้นนี้บริษัทจะใชเงินลงทุนมากที่สุด เพราะตองผลิตผลิตภัณฑเต็มที่และตองตัดสินใจ

               เกี่ยวกับจํานวนการผลิตที่เหมาะสม ขั้นนี้ถือเปนการแนะนําผลิตภัณฑใหม (introduction stage) เปนขั้นแรก

               ของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ (product life cycle)
                       การพัฒนาผลิตภัณฑใหม (new product development) โดยเฉพาะในขั้นตอนแรกคือการสราง

               ความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ (idea  generation)  มีการนํามาประยุกตใชกับผลิตภัณฑการทองเที่ยวจังหวัด
               ชัยนาทสําหรับโครงการใหมๆ เชน โครงการตลาดน้ําริมแมน้ําเจาพระยา แมน้ําทาจีน แมน้ํานอย บอน้ํา

               ศักดิ์สิทธิ์ ประวัติศาสตร โครงการแสง สี เสียง บริเวณสะพานขามแมน้ําเจาพระยา จังหวัดชัยนาท และ

               โครงการใหมอื่นๆ ที่นักทองเที่ยวสนใจ เปนตน ซึ่งในแตละโครงการจะตองผานขั้นตอนที่สําคัญประกอบดวย
               การกลั่นกรองและการประเมินความคิด การพัฒนาและการทดสอบความคิด การพัฒนากลยุทธทางการตลาด

               การวิเคราะหทางธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ การทดสอบตลาด และการดําเนินธุรกิจในที่สุด
                       ผูวิจัยเห็นวาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับผลิตภัณฑทองถิ่นมีขั้นตอนไมแตกตางกันมากนัก ในงานวิจัยนี้

               ตองการสรางตนแบบจําลองผลิตภัณฑชุมชนจึงมุงเนนกระบวนการมีสวนรวมของชุมชนในการระดมความ

               คิดเห็นเพื่อพัฒนา จากนั้นเชิญผูเชี่ยวชาญมาตรวจสอบและอบรมถายทอดความรูดานวัตถุดิบและการจําหนาย
               สิ่งสําคัญคือตองเปนผลิตภัณฑชุมชนที่แตกตางจากที่เคยมีมา สะทอนภูมิปญญาทองถิ่นและอัตลักษณของ

               จังหวัดชัยนาทไดดวย







                                                          2 - 26
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50