Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                     4.3.4  ชัยภูมิและการตั้งถิ่นฐาน หมายถึง ความรูและความเชื่อในการเลือกที่อยู

               อาศัยใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมและวัฒนธรรมของชุมชน
                       5. งานชางฝมือดั้งเดิม หมายถึง ภูมิปญญา ทักษะฝมือชาง การเลือกใชวัสดุ และกลวิธีการสรางสรรค

               ที่แสดงถึงอัตลักษณทองถิ่น สะทอนพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุมชน โดยใชวัสดุที่หาไดใน

               ทองถิ่นผสมผสานกับความรูที่ไดรับการถายทอดกันมาจากรุนสูรุน แลวพัฒนาเปนความชํานาญเฉพาะบุคคล
               จนเกิดเปนงานชางฝมือที่มีคุณภาพและมีเอกลักษณเฉพาะในแตละทองถิ่น เชน การทอผาไหมหรือผาฝาย การ

               ทําเครื่องจักสานจากหวายหรือกระจูด การทําเครื่องเงินหรือเครื่องทองเหลือง เครื่องปนดินเผา เครื่องหนัง
               งานแกะสลักไม เปนตน

                       6. การเลนพื้นบาน กีฬาพื้นบาน และศิลปะการตอสูปองกันตัว หมายถึง การเลนเกมกีฬาและศิลปะ
               การตอสูปองกันตัวที่มีการปฏิบัติกันอยูในประเทศไทยและมีเอกลักษณสะทอนวิถีไทย แบงออกไดเปน 3

               ประเภท ไดแก

                              6.1 การเลนพื้นบาน หมายถึง กิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายที่ทําดวยความสมัครใจตาม
               ลักษณะเฉพาะของทองถิ่น เพื่อใหเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน เกิดความรักและความสามัคคีในหมูคณะ

               โดยไมมีกฎที่แนนอน แตเปนการตกลงในกลุมผูเลนในบางครั้ง เชน หมากเก็บ มอญซอนผา มากานกลวย

               แมงูเอย โพงพาง รีรีขาวสาร ซอนหาหรือโปงแปะ
                              6.2  กีฬาพื้นบาน หมายถึง การแขงขันทักษะทางกายที่ตองใชความสามารถทางการ

               เคลื่อนไหว มีลักษณะของการแขงขันที่มุงหวังผลแพชนะ โดยมีกฎกติกาที่เปนลักษณะเฉพาะถิ่น เชน วิ่งวัว

               วิ่งควาย ตี่จับ ตะกรอลอดหวง แยลงรู วาวไทย หมากรุก เปนตน
                              6.3 ศิลปะการตอสูปองกันตัว หมายถึง วิธีการหรือรูปแบบการตอสูที่ใชรางกายหรืออุปกรณ

               โดยไดรับการฝกฝนตามวัฒนธรรมที่ไดรับการถายทอดกันมา เชน กระบี่กระบอง มวยไทย
                       ในงานวิจัยนี้กําหนดใชการแบงประเภทของภูมิปญญาทองถิ่นตามสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา

               แหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี (2541) เนื่องจากมีรายละเอียดชัดเจนและครอบคลุมมากที่สุด




               2.2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑทองถิ่น


                       ผลิตภัณฑทองถิ่นเปนผลิตภัณฑที่ผลิตโดยชาวบาน กลุมชาวบานในชุมชนที่รวมตัวกันโดยมุงเนนการ

               ใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชน และรวมถึงผูผลิตรายเดียวและผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอย โดย
               ผลิตภัณฑไมไดหมายถึงตัวสินคาเพียงอยางเดียว แตเปนกระบวนการทางความคิด รวมถึงการบริการ การดูแล

               การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การรักษาภูมิปญญาไทย การทองเที่ยว ศิลปวัฒนธรรม

               ประเพณี การตอยอดภูมิปญญาทองถิ่น การแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อใหกลายเปนผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีจุดเดน
               จุดขายที่รูจักกันแพรหลายไปทั่วประเทศและทั่วโลก โดยหากอางอิงจากโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑซึ่ง





                                                          2 - 20
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44