Page 34 -
P. 34
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รุนสูรุน ระหวางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง พัฒนา สูญสลายหายไปบางและเกิดใหมเปน
ความรูใหมตามยุคสมัย หรืออาจกลาวไดวาภูมิปญญาทองถิ่นเปนการใชภูมิปญญาหรือความรูในทองถิ่นเพื่อ
การพัฒนาทองถิ่นซึ่งเปนความรูชุดใหม
โดยลักษณะของภูมิปญญาทองถิ่นมี 5 ประการ คือ 1. มีวัฒนธรรมเปนฐาน 2. มีลักษณะผสมผสาน
3. มีความเชื่อมโยงกับความเชื่อ 4. เนนการปฏิบัติที่ถูกทํานองคลองธรรมและพฤติกรรมมนุษย 5. เนน
พฤติกรรมกลุมของหนวยทางสังคมและสถาบันสังคม (เทิดชาย ชวยบํารุง, 2554: 46)
ในงานวิจัยนี้จึงกําหนดใชตามความหมายของภูมิปญญาทองถิ่นดังกลาว
2) ลักษณะและความสําคัญของภูมิปญญาทองถิ่น
ภูมิปญญา (wisdom) คือ องคความรู ความสามารถและทักษะของคนที่เกิดจากการไดสั่งสม
ประสบการณ ที่ผานกระบวนการเลือกสรร เรียนรู ปรุงแตง และถายทอดสืบตอกันมาเพื่อใชแกปญหาและ
พัฒนาวิถีชีวิตของคนใหสมดุลกับสภาพแวดลอมและเหมาะสมกับยุคสมัย ภูมิปญญาเกิดจากการสะสมการ
เรียนรูมาเปนระยะเวลายาวนาน มีลักษณะที่เชื่อมโยงกันหมดในทุกสาขาวิชา ฉะนั้นวิชาเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
อาชีพ ความเปนอยู การศึกษา วัฒนธรรม จะผสมกลมกลืนเชื่อมโยงกันหมด ภูมิปญญาเปนผลของ
ประสบการณสั่งสมของคนที่เรียนรูจากการปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ปฏิสัมพันธในกลุมชนเดียวกัน และ
ระหวางกลุมชนหลายๆ ชาติพันธุ รวมไปถึงโลกทัศนที่มีตอสิ่งเหนือธรรมชาติ ภูมิปญญามี 2 ลักษณะคือ
ลักษณะนามธรรม เปนโลกทัศน ชีวทัศน เปนปรัชญาในการดําเนินชีวิต เปนเรื่องเกี่ยวกับการเกิด แก เจ็บ ตาย
คุณคาและความหมายของทุกสิ่งในชีวิตประจําวัน และลักษณะรูปธรรม เปนเรื่องเฉพาะดาน เชน การทํามา
หากิน การเกษตร หัตถกรรม ศิลปะ ดนตรีและอื่นๆ ภูมิปญญาเหลานี้สะทอนออกมาเปน 3 ลักษณะที่สัมพันธ
ใกลชิดกัน คือ
1) ความสัมพันธระหวางคนกับโลก คนกับสิ่งแวดลอม สัตว พืช ธรรมชาติ
2) ความสัมพันธระหวางคนกับคน มีอยูรวมกันในสังคมหรือชุมชน
และ 3) ความสัมพันธระหวางคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ (สิ่งศักดิ์สิทธิ์) สิ่งที่ไมสามารถสัมผัสได
ทั้งสามลักษณะนี้ คือ ชีวิตของปุถุชนทั่วไปที่สะทอนออกมาถึงภูมิปญญาในการดําเนินชีวิตอยางมี
เอกภาพ โดยผานกระบวนการทางจารีต ประเพณี วิถีชีวิต การทํามาหากินและพิธีกรรมตางๆ เพื่อใหเกิดความ
สมดุลระหวางความสัมพันธเหลานี้ เปาหมายก็คือเพื่อใหเกิดความสุขทั้งในสวนที่เปนชุมชน หมูบาน และใน
สวนที่เปนปจเจกของชาวบาน ถาหากเกิดปญหาทางดานความไมสมดุลกันขึ้นก็จะกอใหเกิดความไมสงบสุข
เกิดปญหาในหมูบานและชุมชน (ประเวศ วะสี, 2530: 75)
ภูมิปญญาทองถิ่นกับการพัฒนาเปนเรื่องสําคัญที่ตองคํานึงถึงกระบวนการจัดการที่มีลักษณะเชิงซอน
มีลักษณะที่ซอนทับกันหลายมิติ อันเปนการปฏิเสธแนวทางการพัฒนาประเทศไทยที่ผานมาที่ใชฐานความรู
ชนิดเดียว ประเภทเดียว ซึ่งเรียกวา “ความรูทางวิทยาศาสตร” เพียงประการเดียวเทานั้น ถึงแมวาโดย
ขอเท็จจริงแลวความรูทางวิทยาศาสตรจะเปนความรูที่มีความสําคัญก็ตาม ในขณะเดียวกันโลกยุคปจจุบันก็มี
วัฒนธรรมที่หลากหลาย มีมนุษยตางวัฒนธรรม ซึ่งลวนแลวแตไดสรางภูมิปญญาของตนเองขึ้นมา ทําใหมนุษย
2 - 15