Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                       1) ความหมายของภูมิปญญาทองถิ่น

                       จากกระแสของภูมิปญญาทองถิ่นที่ไดรับการกลาวถึงอยางกวางขวาง ไดมีนักวิชาการ นักพัฒนาชุมชน
               ปราชญชาวบาน กลุม/ องคกรชุมชน ไดใหความหมายของภูมิปญญาทองถิ่นไวดังตอไปนี้

                       กรมสงเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (2559: 12) ไดใหความหมายของภูมิปญญาวาหมายถึง

               องคความรู ความสามารถและทักษะซึ่งเกิดจากการสั่งสมประสบการณที่ผานกระบวนการเรียนรู เลือกสรร
               ปรุงแตง พัฒนา ถายทอดสืบตอกันมาเพื่อใชแกปญหาและพัฒนาวิถีชีวิตใหสมดุลกับสภาพแวดลอมและ

               เหมาะสมกับยุคสมัย ภูมิปญญาของไทยมีความเดนชัดในหลายดาน ทั้งดานเกษตรกรรม ศิลปกรรม
               วรรณกรรมและภาษา

                       ยศ สันตสมบัติ (2542:  51-58)  ไดใหความหมายของคําวาภูมิปญญาทองถิ่นวา เปนองคความรูที่
               พัฒนาขึ้นมาในบริบททางกายภาพและวัฒนธรรมของการปฏิสัมพันธระหวางคนกับระบบนิเวศ มีการสืบทอด

               และพัฒนามาเปนเวลานับรอยนับพันป และมีการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปตามบริบททางเศรษฐกิจ

               สังคม และการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ภูมิปญญาทองถิ่นกอกําเนิดขึ้นจากเครือขายความสัมพันธ
               ทางสังคมและมีลักษณะเปนองครวมรอบดาน โดยมิอาจแยกสวนตางๆ ออกจากกันไปอยางเด็ดขาด อยางไร

               ก็ตามสามารถแบงแยกเพื่อการวิเคราะหองคประกอบของภูมิปญญาทองถิ่นไดเปน 4 ระดับ คือ 1. องคความรู

               ในเรื่องอาหารและยา 2. องคความรูในเรื่องระบบการผลิตและการจัดการทรัพยากร 3. ภูมิปญญาพื้นบานที่
               ปรากฏในรูปความเชื่อ พิธีกรรม จารีตประเพณี และวิถีปฏิบัติ และ 4. วิธีคิด

                       จารุวรรณ ธรรมวัตร (อางถึงใน นัฐวุฒิ สิงหกุล และชินวร ฟาดิษฐี,  2548:  61) ไดกลาวถึงคําวา

               ภูมิปญญาและภูมิปญญาพื้นบานไวในหนังสือเรื่องภูมิปญญาอีสาน โดยใหความหมายของคําวา
               ภูมิปญญา ไววาหมายถึง แบบแผนการดําเนินชีวิตที่มีคุณคา แสดงถึงความเฉลียวฉลาดของบุคคลและสังคม

               ซึ่งไดสั่งสมและปฏิบัติสืบตอกันมา ภูมิปญญาจะเปนทรัพยากรบุคคลหรือทรัพยากรความรูก็ได ทรัพยากรที่ถือ
               วาเปนภูมิปญญา ไดแก ความรูเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ จารีตประเพณี ภาษา วรรณกรรม สถาปตยกรรม ดนตรี

               นาฏศิลป และการรักษาโรคภัยไขเจ็บ สวนภูมิปญญาพื้นบาน หมายถึง ทรัพยากรความรู ทรัพยากรบุคคลที่มี

               อยูในทองถิ่นแตละแหง ซึ่งอาจเปนลักษณะเฉพาะตนหรือเปนลักษณะสากลที่หลายๆ ทองถิ่นมีคลายกันก็ได
               ภูมิปญญาพื้นบานในแตละทองถิ่นเกิดจากการแสวงหาความรูเพื่อเอาชนะอุปสรรคทางธรรมชาติและทางสังคม

               ที่จําเปนตอการดําเนินชีวิต ดังนั้นจึงเกี่ยวของกับการผลิตและวิถีชีวิตชาวบาน ลักษณะเดนของภูมิปญญา
               พื้นบานคือ สรางสํานึกความเปนหมูคณะสูง ทั้งในระดับครอบครัวและเครือญาติ

                       เสรี พงศพิศ (2546) กลาววา ภูมิปญญา (Wisdom) คือ ศาสตรและศิลปของการดําเนินชีวิตซึ่งผูคน

               ไดสั่งสมสืบทอดกันมาเปนเวลาชานาน จากพอแม ปูยาตายาย สูลูกหลาน จากคนรุนหนึ่งสูอีกรุนหนึ่ง จากอดีต
               ถึงปจจุบัน ภูมิปญญาเปนศาสตร คือ เปนความรูเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต ปจจัยสี่ การทํามาหากิน การอยู

               รวมกับธรรมชาติสิ่งแวดลอมและการอยูรวมกันในสังคม ภูมิปญญาเปนศิลป คือ เปนความรูที่มีคุณคาดีงาม

               ที่ผูคนไดคิดคนขึ้นมา ไมใชดวยสมองแตเพียงอยางเดียว แตดวยอารมณ ความรูสึกและจิตวิญญาณ






                                                          2 - 13
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37