Page 33 -
P. 33
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บัณฑูร เศรษฐศิโรตม และเจษฎ โทณะวณิก (2547: 5) กลาววา ภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ความรู
ความคิด ความเชื่อ ความสามารถ ความชัดเจนที่เกิดขึ้นในกลุมชนที่ไดมาจากประสบการณที่สั่งสมไวในการ
ปรับตัวและดํารงชีพในสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ สังคม และวัฒนธรรมที่ไดมีการพัฒนา การสืบสานกันมา
และเปนความรู ความคิด ความเชื่อที่เปนผลของการใชสติปญญาปรับตัวกับสภาวะตางๆ ในถิ่นฐานที่ชุมชน
นั้นๆ ตั้งหลักแหลง อีกทั้งยังไดมีการติดตอแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับกลุมชนอื่นๆ มีการรับหรือปรับเปลี่ยน
นํามาสรางประโยชนหรือแกไขปญหาไดในสิ่งแวดลอม สังคม และวัฒนธรรมของกลุมชนนั้นๆ
โกวิทย พวงงาม (2553: 398) กลาววา ภูมิปญญาทองถิ่น (Local Wisdom) หมายถึง กระบวนทัศน
หรือองคความรูของคน หรือกลุมคนในถิ่นใดถิ่นหนึ่ง อันเกิดจากการถายทอดมาจากบรรพบุรุษหรือจาก
ประสบการณที่ผานการกลั่นกรอง สั่งสม คิดวิเคราะหและนํามาใชจนเกิดผล โดยอาศัยการเรียนรูที่เชื่อมโยง
กับวิถีชีวิต เปนรากฐานของความรูชาวบาน ซึ่งมีลักษณะเปนนามธรรมและรูปธรรม สามารถประยุกตใชได
ตั้งแตระดับปจเจกบุคคลไปจนถึงระดับสังคมไดอยางสอดคลองและสมดุล มีความเปนลักษณะเฉพาะตาม
บริบทของชุมชนหรือทองถิ่นนั้นๆ
เทิดชาย ชวยบํารุง (2554: 40) กลาววา ภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ความรูของคนไทยในทองถิ่น
ซึ่งไดมาจากประสบการณและความริเริ่มของคนในทองถิ่น รวมทั้งความรูที่สั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจาก
รุนสูรุน ระหวางการสืบทอดมีการปรับ ประยุกตและเปลี่ยนแปลง พัฒนา สูญสลายหายไปบางและเกิดเปน
ความรูใหมตามยุคสมัย หรืออาจกลาวไดวาภูมิปญญาทองถิ่นเปนการใชภูมิปญญาหรือความรูในทองถิ่นเพื่อ
การพัฒนาทองถิ่นซึ่งเปนความรูชุดใหม
อมรรัตน อนันตวราพงษ (2560: 21) กลาววา ภูมิปญญาเปนรากฐานในการดําเนินชีวิตของชาวบานที่
เกิดจากการสั่งสมมาเปนระยะเวลายาวนาน “ภูมิปญญาไทย” จึงเปนการถายทอดวัฒนธรรมอยางลึกซึ้งเพื่อให
เขาใจถึงมูลเหตุแหงการสรางสรรคอยางชาญฉลาด แสดงถึงความมีภูมิปญญาของคนไทยในยุคสมัยหนึ่ง
ที่สามารถคิดคนสิ่งที่เปนระเบียบแบบแผนและมีรูปแบบที่ยอมรับกันภายในสังคม เพื่อเอื้อประโยชนตอการ
ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมนั้น และยังคงไวซึ่งคุณคาแหงความงามและศิลปะ ถายทอดจากคนรุนหนึ่งไปสูคน
อีกรุนหนึ่งดวยวิธีการตางๆ ที่แตกตางกันไปตามสภาพแวดลอมของแตละทองถิ่น หรืออาจกลาวไดวา
ภูมิปญญาไทยไดแสดงใหเห็นถึงศักยภาพหรือความสามารถของชาวบานและชุมชนในการปรับใชวัฒนธรรมให
เปนกระบวนการเชื่อมโยงระหวางอดีตจนถึงปจจุบัน ทําใหชาวบานและชุมชนในทุกภาคของประเทศไดปรับ
หรือประยุกตเอาวัฒนธรรม ตลอดจนผลิตภัณฑที่สรรคสรางขึ้นใหมมาใชในการพัฒนาคุณภาพชีวิตอยาง
กวางขวาง ทั้งในกิจกรรมดานเศรษฐกิจ สังคม ประเพณี และศิลปวัฒนธรรมของคนในชุมชน ในการปองกัน
หรือแกไขปญหาโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช เพื่อใหเขาใจถึงสายกลางของชีวิตและเพื่อ
คงไวซึ่งทฤษฎีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ในสังคมระดับทองถิ่นและตลาดระดับสากลในแนวทางที่สมดุลกับสภาวะ
ของประเทศที่ทันสมัยและกาวสูความเปนสากลไดโดยปราศจากการตอตานกระแสโลกาภิวัตน
จากการศึกษาเอกสารวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของ ผูวิจัยเห็นวานิยามความหมายของเทิดชาย ชวยบํารุง
(2544: 40) มีความชัดเจนและครอบคลุมมากที่สุด ที่วาภูมิปญญาทองถิ่น หมายถึง ความรูของคนในทองถิ่น
ซึ่งไดมาจากประสบการณและความริเริ่มของคนในทองถิ่น รวมทั้งความรูที่สั่งสมมาแตบรรพบุรุษ สืบทอดจาก
2 - 14