Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                           บทที่ 2 การทบทวนเอกสารและวรรณกรรม



                       ผูวิจัยไดทบทวนเอกสารและวรรณกรรม เพื่อสกัดแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการวิจัย สรุปไดเปน 3

               กลุม ดังนี้
                       2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น

                       2.2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑทองถิ่น

                       2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวของ


               2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับภูมิปญญาทองถิ่น


                       ภูมิปญญาทองถิ่นเปนทุนทางสังคมและวัฒนธรรมที่ทรงคุณคาของไทย แมจะถูกมองขามมาเปน

               เวลานานในยุคของการกาวเขาสูความทันสมัย หากแตเมื่อประเทศประสบปญหาก็ตองหวนกลับมามอง
               ภูมิปญญาทองถิ่นอีกครั้ง เพราะภูมิปญญาเกิดและพัฒนาในพื้นที่นั้น จึงเหมาะจะนํามาใชในการแกไขปญหา

               และพัฒนาทองถิ่นนั้น ตรงตามบริบทปญหา สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม (เทิดชาย ชวยบํารุง, 2554: 36)
                       เรื่องของภูมิปญญาทองถิ่นเปนสิ่งที่เกิดขึ้นและดํารงอยูกับสังคมมนุษยมาชานานและเปนการดํารงอยู

               ในชีวิตที่เกี่ยวพันกับธรรมชาติของแตละทองถิ่น โดยมีการปรับสภาพการดําเนินชีวิตใหเหมาะสมกับ

               สภาพแวดลอมตามกาลเวลา ภูมิปญญาทองถิ่นมีเอกลักษณที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ เปนองคความรูที่มีการ
               เชื่อมโยงกัน ไมวาจะเปนเรื่องอาชีพ เศรษฐกิจ ความเปนอยูและวัฒนธรรม (ประเวศ วะสี, 2530: 6)

                       ภูมิปญญา หรือภูมิปญญาทองถิ่น เปนคําที่ใชกันแพรหลายทั่วไปในสังคมและในวงการตางๆ ทั้งของ

               รัฐ องคกรพัฒนาเอกชน นักวิชาการ และสื่อมวลชน นอกจากนั้นยังเปนคําที่คาบเกี่ยวกับคําอื่นๆ อีกจํานวน
               หนึ่ง เชน ความรูทองถิ่น ความรูชาวบาน ภูมิปญญาชาวบาน ความรูพื้นบาน คําเหลานี้อาจจะเริ่มใชแพรหลาย

               ในชวงเวลากวายี่สิบปที่ผานมา และไดรับแรงสงเสริมผลักดันจากกระแสสังคมที่เปนปฏิกิริยาตอตาน

               โลกาภิวัตน เกิดการหันมาเนนความสําคัญของทองถิ่นและยกยองความรูและวิถีชีวิตแบบทองถิ่น มองเห็น
               ความงดงามและลุมลึกของวิถีชีวิตของคนธรรมดาสามัญ ชาวบานที่หางไกลความกาวหนาทางวัตถุและ

               เทคโนโลยี (โกวิทย พวงงาม, 2553: 397)
                       ภูมิปญญาทองถิ่นจึงเปนความรูที่ไดมีการสั่งสมมาเปนเวลานานและมีการถายทอดจากคนรุนหนึ่งไปสู

               คนอีกรุนหนึ่งในทองถิ่นนั้น เพื่อใชในการดํารงชีวิต การอยูรวมกันของสังคมในทองถิ่น และอาจหมายถึง
               ประสบการณของชาวบานที่นํามาใชประโยชนในการดําเนินชีวิต ความรู ความคิดสรางสรรค แบบแผนของการ

               ดํารงชีวิตที่ปฏิบัติสืบทอดตอกันมา การประกอบอาชีพที่ยึดหลักการพึ่งตนเอง และการประกอบอาชีพที่เกิด

               จากการผสมผสานความรูเดิมกับแนวคิด หลักปฏิบัติและเทคโนโลยีสมัยใหม (ยศศักดิ์ โกไศยกานนท, 2559:
               28)





                                                          2 - 12
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36