Page 12 -
P. 12

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




            ไดวา สังคมโลกกำลังเดินหนาเขาสูสังคมผูสูงอายุอยางแทจริง ซึ่งจำเปนตอง

            อาศัยองคความรู ความเขาใจ และสรางกลไกในการสงเสริมสุขภาพและ
            คุณภาพชีวิตผูสูงอายุในทุกๆ ดาน เพื่อชวยในการขับเคลื่อนสังคมไปสูสังคม

            สุขภาวะ


            นิยามผูสูงอายุ


                   คำวาผูสูงอายุหรือบางคนเรียกวา ผูสูงวัย เปนคำที่บงบอกถึงตัวเลข

            ของอายุวามีอายุมากโดยนิยมนับตามอายุตั้งแตแรกเกิด (Chronological age)

            หรือ ทั่วไป เรียกวาคนแกหรือคนชราโดยพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน
            พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคำวา คนแก คือ มีอายุมาก หรืออยูในวัยชรา

            และใหความหมายของคำวา ชรา คือ แกดวยอายุ ชำรุดทรุดโทรม องคการ
            อนามัยโลก (WHO, 2014) และองคการสหประชาชาติ (United Nations,

            UN) ใชคำในภาษาอังกฤษของผูสูงอายุวา Older person หรือ Elderly


                   องคการสหประชาชาติ ไดนิยามวา “ผูสูงอายุ” คือ ประชากรทั้ง

            เพศชาย  และเพศหญิงซึ่งมีอายุมากกวา 60  ปขึ้นไป  โดยเปนการนิยาม
            นับตั้งแตอายุเกิด สวนองคการอนามัยโลก ยังไมมีเกณฑมาตรฐานในการ

            กำหนดคำนิยามผูสูงอายุ โดยมีเหตุผลวา ประเทศตางๆ ทั่วโลกมีการนิยาม

            ผูสูงอายุตางกัน ทั้งนิยามตามอายุเกิด (Birth day) สังคม (Social) วัฒนธรรม
            (Culture) และสภาพรางกาย (Functional markers) เชนในประเทศ

            ในทวีปแอฟริกา นิยามผูสูงอายุ คือ อายุ 50 หรือ 55 ปขึ้นไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ





                                               การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ   11
                                               Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17