Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี















                      การกาวสูสังคมผูสูงอายุ





                   การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรของทุกประเทศทั่วโลกในชวง
            ศตวรรษที่ 21 (ระหวางป ค.ศ. 2000-2100) กำลังเคลื่อนเขาสูระยะที่เรียกวา

            “ภาวะประชากรสูงอายุ” (Population aging) ปจจัยสำคัญหนึ่งที่สงผลตอ

            การเขาสูภาวะประชากรสูงอายุ อันเนื่องมาจากปรากฏการณดานประชากร
            ศาสตร ที่เรียกวาปรากฏการณเบบี้บูม (Baby Boom) ซึ่งเกิดในชวงหลัง

            สงครามโลกครั้งที่ 2 ในยุคดังกลาว หลายๆ ประเทศ ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย
            ไดสงเสริมและสนับสนุนใหมีการเพิ่มจำนวนประชากรเพื่อเปนกำลังสำคัญ

            ในการพัฒนาและฟนฟูประเทศหลังเหตุการณสงคราม  เหตุผลของการเพิ่ม

            จำนวนประชากรในยุคนั้น สงผลตอการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรผูสูงอายุ
            อยางรวดเร็วจนกลายเปนประชากรกลุมใหญของโลกในปจจุบันนี้ (วิพรรณ

            ประจวบเหมาะ และคณะ, 2551) นอกจากนั้นสถานการณการเพิ่มจำนวน

            ผูสูงอายุดังกลาว  ยังมีผลจากความเจริญกาวหนาทางการแพทยและ
            การสาธารณสุข โดยเฉพาะนวัตกรรมทางการแพทย โภชนาการ การปรับปรุง

            สังคม-สิ่งแวดลอม การลดลงของภาวะเจริญพันธุ และการเพิ่มขึ้นของความ

            ยืนยาวของชีวิต หรือการลดลงของอัตราการตายของทารกและเด็ก จะเห็น




           10    การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ
                 Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16