Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




            การเปลี่ยนผานสูสังคมผูสูงอายุ


                   แนวโนมการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรสูงอายุไทยที่เห็นได

            เดนชัดประการหนึ่ง คือ ในชวงแผนผูสูงอายุแหงชาติฉบับที่ 2 คือ สัดสวน
            ผูสูงอายุที่มีอายุมากหรือเปนผูสูงอายุในวัยกลาง (อายุ 75-84 ป) มีแนวโนม

            จะมากขึ้น และจากขอมูลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทยลาสุด

            คาดวาสัดสวนของประชากรสูงอายุวัยปลายหรืออายุ  80 ปขึ้นไป เพิ่มจาก
            รอยละ 9.8 ของประชากรสูงอายุทั้งหมด ในป พ.ศ. 2543 เปนรอยละ 12.4

            ในป  พ.ศ. 2568  ลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่ง  คือ  แนวโนมของการที่

            สัดสวนของเพศหญิงจะสูงกวาเพศชายอยางชัดเจน สาเหตุที่ทำใหสัดสวน
            ของประชากรเพศหญิงมีสูงกวาประชากรเพศชายในวัยสูงอายุ เนื่องจาก

            อัตราตายของประชากรเพศหญิงที่ต่ำกวาเพศชาย และอายุขัยเฉลี่ยของเพศหญิง
            จะเพิ่มขึ้นจากอายุ 78 ป ในป พ.ศ. 2553 เปน 82 ป ในป พ.ศ. 2583

            ในขณะที่เพศชาย จะมีอายุขัยเฉลี่ยเพิ่มจากประมาณ 71 ป เปน 77 ป

            (วิพรรณ ประจวบเหมาะ, 2556) Knodel & Chayovan (2008) ไดนำขอมูล
            การคาดประมาณประชากรภายใตขอสมมติฐานภาวะเจริญพันธุระดับกลาง

            ขององคกรสหประชาชาติ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา ในกลุมประชากรที่มี
            อายุตั้งแต 60 ปขึ้นไป สัดสวนของประชากรเพศหญิง จะเพิ่มจากประมาณ

            รอยละ 55 ในป พ.ศ. 2543 เปนประมาณรอยละ 59 ในป พ.ศ. 2593 และ

            เปนที่นาสังเกตวาสัดสวนของประชากรเพศหญิงจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น
            ที่เห็นไดชัดคือ ในกลุมผูสูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปขึ้นไป) โดยสัดสวนของ

            ประชากรหญิงจะเพิ่มจากประมาณรอยละ 64  เปนประมาณรอยละ 71





                                               การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ   15
                                               Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21