Page 17 -
P. 17
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อยางไรก็ตาม แมวาสัดสวนของประชากรหญิงจะมากกวาชาย แตผูหญิง
จะมีขอจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวันมากกวาผูชาย และมีสุขภาพดีต่ำกวา
ผูสูงอายุชาย (อุทัยทิพย รักจรรยาบรรณ, 2547)
นับตั้งแตป พ.ศ. 2550 เปนตนมา เปนที่ชัดเจนวาสังคมไทยเขาสู
การเปนสังคมผูสูงอายุ ซึ่งการเปลี่ยนผานเปนประชากรสูงวัยของประเทศไทย
นั้นเกิดขึ้นในระยะเวลาที่เร็วมาก กลาวคือ การเพิ่มของประชากร อายุ 65 ป
ขึ้นไป จากรอยละ 7 เปนรอยละ 14 จะใชเวลาเพียงประมาณ 22 ป และ
คาดการณวาในป 2568 ประเทศไทยจะมีผูสูงอายุมากเปนลำดับที่ 5 ใน
ทวีปเอเชีย คือ 13.9 ลานคน ขณะเดียวกันจำนวนประชากรวัยเด็กจะลดต่ำลง
เหลือเพียงประมาณรอยละ 12 คาดการณวาในอีก 40 ปขางหนา ประชากร
สูงอายุจะมีมากกวาเด็กถึง 4 เทา ขณะที่คาดการณกันวาภายใน 15-20 ป
ขางหนา จำนวนประชากรผูสูงอายุไทยจะเพิ่มกวาเทาตัวของจำนวนประชากร
สูงอายุในปจจุบัน (สำนักงานสถิติแหงชาติ 2551 ; ปราโมทย ประสาทกุล
และปทมา วาพัฒนวงศ, 2555) การเปลี่ยนแปลงเขาสูภาวะประชากรสูงอายุ
เกิดขึ้นอยางรวดเร็วเชนนี้ จึงควรตองเตรียมความพรอมเขาสูสังคมผูสูงอายุ
ดวยการวางแผนและกำหนดยุทธศาสตรที่เหมาะสมเพื่อเตรียมประชากร
ในการเขาสูวัยสูงอายุสุขภาพดี (Active Aging) เพื่อใหกลุมวัยสูงอายุ
เหลานั้นดำรงอยูในสังคมอยางมีคุณคาและมีคุณภาพชีวิตที่ดี จากขอมูล
ประชากรสูงอายุของประเทศไทยที่มีการสำรวจสามารถแสดงรายละเอียด
ดังนี้
16 การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ
Promoting Physical Activity for Health in the Elderly