Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี




            การนับอายุแรกเกิดในแตละภูมิภาคของทวีป  สวนประเทศภูมิภาคตะวันตก

            เชน  ยุโรป  อเมริกา  และบางประเทศในเอเชียที่พัฒนาแลว  เชน  เกาหลี
            ญี่ปุน และสิงคโปร นิยามผูสูงอายุ คือ ผูที่มีอายุ 65 ปขึ้นไป หรือ สวนใหญ

            อาจนิยามผูสูงอายุ ตามอายุของปที่เกษียณจากงาน (อายุ 60 หรือ 65 ป)

            (Roebuck, 1979)  สำหรับประเทศไทย “ผูสูงอายุ”  ตามพระราชบัญญัติ
            ผูสูงอายุ พ.ศ. 2546 หมายความวา บุคคลซึ่งมีอายุเกินกวาหกสิบปบริบูรณ

            ขึ้นไป


                   Jett (2008) และ Jone & Rose (2005) นักวิชาการดานผูสูงอายุ

            ไดนิยาม “ความแกชรา” แบงออกเปน 3 ประเภท กลาวคือ (1) ความแก
            ตามความหมายอายุตามปฏิทิน (Chronological age)  นับตั้งแตหลังจาก

            วันที่ทารกเกิดขึ้นมา โดยพิจารณาจากสถานภาพและความสามารถที่จะ

            กระทำกิจกรรมตามบทบาทของบุคคล ซึ่งบุคคลจะถูกนับวาแกเมื่อไมสามารถ
            จะกระทำกิจกรรมที่เคยทำได (2) ความแกชราตามชีวภาพ (Biological age)

            หมายถึง  กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือเสื่อมของเนื้อเนื้อเยื่อ  ซึ่งอาจเสื่อม
            เร็วกวาหรือชากวาอายุทางปฏิทิน เชน ผูที่มีอายุ 50 ป หากมีปจจัยเสี่ยง

            จากการสูบบุหรี่  ดื่มแอลกอฮอล  ถูกแสงแดดจัดเปนประจำ  หรือเปนโรค

            เรื้อรัง เนื้อเยื่อจะเสื่อมเร็วหรือมีความแกกวาบุคคลผูที่อยูในชวงอายุเดียวกัน
            ที่ไมมีปจจัยเสี่ยงดังกลาว  และ (3)  ความแกชราตามการทำหนาที่ทางกาย

            (Functional age)  กลาวคือ  ผูที่ปฏิบัติกิจกรรมทางกายอยางสม่ำเสมอ

            จะมีความแกชราชากวาผูที่ไมมีกิจกรรมทางกาย ตัวอยางเชน ผูสูงอายุ 70 ป






           12    การสงเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพผูสูงอายุ
                 Promoting Physical Activity for Health in the Elderly
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18