Page 8 -
P. 8

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               สนับสนุนดานการเงินใหกับเกษตรกรโดยตรงเพื่อเปนคาใชจายในการดํารงชีพ หรือบางครั้งเกษตรกรอาจนํา

               เงินดังกลาวไปใชในการจัดหาวัสดุอุปกรณและพันธุพืชตางๆ สําหรับนํามาพัฒนาระบบวนเกษตรของตน ใน

               ปจจุบันเกษตรกรในชุมชนตําบลแมทาที่ตองการลงทุนพัฒนาระบบวนเกษตรของตนไดอาศัยการกูยืมเงินจาก

               สถาบันการเงินในหมูบาน เชน ธนาคารหมูบาน ซึ่งพอจะชวยเหลือเกษตรกรไดบางเนื่องจากดอกเบี้ยต่ํา
               อยางไรก็ตาม หากตองการพัฒนาและขยายผลระบบวนเกษตรใหมากขึ้นอาจตองมีการสนับสนุนและจัดตั้ง

               กองทุนดานเกษตรกรรมยั่งยืนโดยเฉพาะเพื่อเปนชองทางในการสนับสนุนและสรางแรงจูงใจใหแกเกษตรกรใน

               เปลี่ยนมาทําวนเกษตรมากขึ้น


                      5) การศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบตลาดของนิเวศบริการเพื่อสงเสริมระบบวนเกษตรและเกษตร

               อินทรีย ระบบวนเกษตรสามารถใหผลผลิตทางออมในรูปของนิเวศบริการที่หลากหลาย เชน การรักษาความ
               หลากหลายทางชีวภาพ การปรับปรุงและฟนฟูดิน การรักษาน้ํา และการกักเก็บคารบอนไดออกไซดในรูปของ

               เนื้อไม อยางไรก็ตาม นิเวศบริการที่หลากหลายนี้ยังไมมีมูลคาที่เปนตัวเงิน ซึ่งหากมีจายคาตอบแทนนิเวศ

               บริการเหลานี้กลับคืนไปสูเจาของที่ดินที่ทําวนเกษตรกรโดยตรงนอกจากจะชวยสรางมูลคาเพิ่มใหกับระบบวน

               เกษตรแลวยังเปนการกระตุนและสรางแรงจูงใจใหแกเกษตรกรในการหันมาทําระบบวนเกษตรมากขึ้น

               หนวยงานที่เกี่ยวของควรมีการสนับสนุนใหมีการวิจัยเพื่อประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของนิเวศบริการวน

               เกษตรอยางจริงจัง และพัฒนากลไกการจายคาตอบแทนนิเวศบริการใหเกิดขึ้นและเปนรูปธรรมในประเทศไทย

                      6) การสนับสนุนและขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตรเกษตรกรรมยั่งยืนระดับชาติอยางตอเนื่องและ

               เปนรูปธรรม การที่จะมีการปรับประยุกตใชระบบวนเกษตรและเกษตรอินทรียโดยเกษตรกรในหลายพื้นที่ตอง

               มีการสนับสนุนเชิงนโยบายที่หลากหลายในหลายระดับทั้งระดับทองถิ่น ระดับจังหวัด และระดับประเทศ

               รวมถึงระดับภูมิภาคดวย ในปจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายเรื่องการใหสิทธิแกเกษตรกรในเขตปาเขาถึงและใช

               ประโยชนพื้นที่อยางถูกตองและชอบธรรมตามกฎหมายซึ่งถือเปนการริเริ่มที่ดี อยางไรก็ตาม นโยบายของรัฐ

               ควรจะครอบคลุมไปถึงสิทธิการใชประโยชนทรัพยากรอยางเปนธรรมและยั่งยืนโดยเนนใหชุมชนทองถิ่นมีสิทธิ
               ในการเขาถึงทรัพยากรมากขึ้นตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด อีกทั้ง ตองมีการผลักดันนโยบายและรณรงคใหมีการ

               ลดการใชสารเคมีในภาคการเกษตรอยางจริงจังและตอเนื่อง


               5.2.2 ขอแสนะแนะตอเกษตรกร เครือขาย และองคกรระดับพื้นที่


                      1) การพัฒนาแผนแมบทชุมชนดานเกษตรกรรมยั่งยืน   ชุมชนตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัด

               เชียงใหม มีบทเรียนและประสบการณที่ยาวนานเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมโดย
               องคกรชาวบาน ในปจจุบันชุมชนมีการรวมกลุมเปนองคกรและสถาบันการเรียนรูของชุมชนอยางเขมแข็งและ

               เปนรูปธรรม เกี่ยวกับประเด็นเกษตรกรรมยั่งยืนมีการรวมกลุมของเกษตรกรที่ทําวนเกษตรและผักอินทรียใน




                                                            8
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13