Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               มิติการใชประโยชนอยางยั่งยืน ในขณะเดียวกันกลไกระดับทองถิ่นก็มีบทบาทสําคัญอยางมากในการขับเคลื่อน

               ค้ําจุน และสรางกําลังใจใหกับเกษตรกรที่ตัดสินใจทําวนเกษตร โดยกลไกเชิงสถาบันในระดับทองถิ่นที่สําคัญ

               ตอการขับเคลื่อนโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรมี 4 องคกร ไดแก สถาบันการเรียนรูชุมชนตําบลแมทา

               ธนาคารหมูบาน เครือขายและกลุมเกษตรกรอินทรียตําบลแมทา และสหกรณการเกษตรตําบลแมทา ซึ่งแตละ
               องคมีบทบาทและหนาที่ในการผลักดันและขับเคลื่อนกระบวนการผลิตที่แตกตางกัน





               5) ขอเสนอแนะจากการศึกษา


               5.2.1 ขอเสนอแนะตอนโยบายและหนวยงานที่เกี่ยวของ


                      1) การปรับปรุงกฎหมายและนโยบายเกี่ยวกับการเขาถึงทรัพยากรปาไมและตนไมบนพื้นที่ทํากินใน
               เขตปาสงวนฯ ที่รัฐอนุญาตใหชุมชนใชประโยชน ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหเกษตรกรสามารถใชประโยชนตนไมที่

               ปลูกรวมกับพืชเกษตรในระบบวนเกษตรสามารถนําไมมาใชประโยชนอยางถูกตองตามกฎหมายและเปดโอกาส

               ใหเกษตรกรสามารถสรางรายไดใหกับครัวเรือน ซึ่งจะชวยสรางมูลคาเพิ่มใหกับระบบวนเกษตรและสามารถ

               สรางแรงจูงใจใหเกษตตรในพื้นที่หันมาปลูกตนไมและทําวนเกษตรกันมากขึ้น


                      2) สนับสนุนการเชื่อมโยงระหวางผูผลิตและผูบริโภคในเมือง  ในปจจุบันผูผลิตผักอินทรียในตําบลแม

               ทาพยายามเชื่อมโยงกับผูบริโภคในเมืองในหลายชองทางทั้งระบบการตลาดโดยตรงกับผูบริโภค และการติดตอ
               กับหางสรรพสินคาเพื่อนําผลผลิตวนเกษตรไปจําหนายแกผูบริโภค อยางไรก็ตาม การดําเนินงานดังกลาวยังไม

               มีองคกรที่สนับสนุนอยางชัดเจน เกษตรกรตองเรียนรูและพยายามจัดการกับปญหาเฉพาะหนาตางๆ หลาย

               ประการที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะในเรื่องของขอมูลและความรูในเรื่องการตลาดตางๆ


                      3) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานในการผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ การทําวนเกษตรจะประสบผลสําเร็จ

               ไดควรมีระบบการสนับสนุนในดานโครงสรางพื้นฐานโดยเฉพาะเรื่องแหลงน้ําอยางทั่วถึงและเพียงพอ ทั้งนี้ พืช

               บางชนิดในระบบวนเกษตร เชน มะนาว ตองการน้ําตลอดทั้งป ในปจจุบันเกษตรกรพึ่งพาและอาศัยน้ําฝนและ
               จากหวยธรรมชาติซึ่งมีเฉพาะในชวงหนาฝนแตจะขาดแคลนในชวงฤดูแลง ดังนั้น การพัฒนาแหลงน้ําสําหรับ

               เกษตรกรที่ทําวนเกษตรจึงมีความสําคัญและจําเปนตอการปลูกและดูแลรักษาพืชในระบบวนเกษตรเปนอยาง

               มาก


                      4) การสนับสนุนดานการเงินใหแกเกษตรกรที่ทําวนเกษตรอยางเหมาะสม การลงทุนทําวนเกษตรเปน

               การลงทุนในระยะยาว ในชวงเริ่มตนของกระบวนการผลิตเกษตรกรที่ตองการเปลี่ยนมาทําวนเกษตรอาจจะยัง

               ไมมีรายไดที่มาจากระบบวนเกษตรกร ดังนั้น ในชวงระหวางรอผลผลิตจากระบบวนเกษตรกรอาจมีการ



                                                            7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12