Page 5 -
P. 5

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               เกษตรกรที่ริเริ่มในชวงแรก และมีการขยายผลไปยังเกษตรกรคนอื่น ๆ ที่มีความสนใจ และชวงที่สาม (พ.ศ.

               2546 เปนตนมา) มีการสรางเครือขายเกษตรกรรมยั่งยืนในตําบลแมทาอยางเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น และมีเริ่ม

               มีชาวบานเริ่มหันมาปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตจากการปลูกขาวโพดเชิงเดี่ยวมาเปนการทําเกษตรอินทรียและ

               มีการปลูกตนไมรวมในพื้นที่เกษตรมากขึ้น
                      จากการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และขอจํากัดของเกษตรกรในชุมชนตําบลแมทาในการปรับ

               ใชระบบวนเกษตร สามารถวิเคราะหและจําแนกเงื่อนไขปจจัยตาง ๆ ตอการปรับประยุกตระบบวนเกษตรใน

               ระดับทองถิ่น ทั้งหมด 5 เงื่อนไขปจจัย ประกอบดวย 1) ปจจัยดานนโยบายที่สนับสนุนและเอื้อตอความมั่นใจ

               ของเกษตรกร 2) ความสนใจและความมั่นใจของเกษตรกร 3) ปจจัยดานเงินลงทุน   4) โครงสรางพื้นฐานที่

               จําเปนตอการทําระบบวนเกษตร และ 5) ระบบตลาดและการขนสงผลผลิตไปยังผูบริโภค




               3) ความหลากหลายของชนิดพืชในระบบวนเกษตร


                        ระบบวนเกษตรเปนการใชที่ดินรวมกันระหวางองคประกอบตางๆ ไดแก ไมยืนตน พืชเกษตร และ

               อาจมีปศุสัตวรวมอยูดวยในพื้นที่เดียวกัน จากการสํารวจระดับแปลงวนเกษตร พบไมยืนตน 1) ประเภทไมปา

               ทั้งสิ้น 76  ชนิด โดยจํานวนไมยืนตนที่พบมากที่สุด  5  อันดับแรก ไดแก สัก เพกา แดง จามจุรี และตะขบปา

               2) ไมยืนตนประเภทไมผลในระบบวนเกษตร ทั้งสิ้น 28 ชนิด โดยชนิดไมผลที่พบมากที่สุด  5 อันดับแรก ไดแก
               ลําไย มะมวง ขนุน มะกรูด และมะกอก  3)  ไมยืนตนประเภทปาลม ทั้งสิ้น  5  ชนิด ไดแก เตาราง มะพราว

               ระกํา หมากแดง และหวาย  และ 4) ไมไผ พบทั้งหมด  7 ชนิด สําหรับพืชเกษตรในระบบวนเกษตร พบทั้งสิ้น

               100  ชนิด โดยชนิดที่พบมาก  5  อันดับแรก ไดแก กระเจี๊ยบเขียว กระเจี๊ยบแดง กระเจียว กระชาย และ

               กระชายดํา


                        เมื่อวิเคราะหคาดัชนีความหลากชนิดของไมยืนตนในระบบวนเกษตรในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากิน

               จังหวัดเชียงใหม จากการพบไมยืนตนหรือพืชอายุยืนยาวทั้งหมด 145 ชนิด จําแนกออกเปน ไมปา จํานวน 98
               ชนิด ไมผล 27 ชนิด ไผ 7 ชนิด ปาลมและหวาย 7 ชนิด และไมพุม 6 ชนิด มีคาดัชนีความหลากหลายของ

               ชนิดไมยืนตน เทากับ 2.99


               4) โซคุณคาการจัดการะบบวนเกษตรกรของเกษตรกร


                        จากการวิเคราะหองคประกอบของโซคุณคาการจัดการระบบวนเกษตรของเกษตรกรในพื้นที่

               โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม พบวา ระบบการจัดการวน
               เกษตรประกอบดวยองคประกอบที่เกิดจากกระบวนการผลิตทั้งหมด 6 องคประกอบ ไดแก 1) เกษตรกร

               เจาของที่ดินและกลุมเกษตรอินทรีย 2) ที่ดินและระบบกรรมสิทธิ์ 3) รูปแบบและการจัดเรียงองคประกอบ 4)


                                                            5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10