Page 4 -
P. 4
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ประโยชนในดานเปนแหลงไมใชสอย คิดเปนรอยละ 35.55 และใชประโยชนจากปาเพื่อเปนพื้นที่เลี้ยงวัว คิด
เปนรอยละ 3.99
ครัวเรือนตัวอยางสวนใหญมีที่ดินเปนของตนเอง มีการถือครองที่ดินเฉลี่ย เทากับ 4.46 ไรตอ
ครัวเรือน ครัวเรือนที่ถือครองสูงที่สุด เทากับ 35 ไร และนอยที่สุด เทากับ 0.25 ไร สําหรับเกษตรกรที่มีที่ดิน
ทํากินในพื้นที่แปลงรวมถือครองที่ดินเฉลี่ยครัวเรือนละ 3.75 ไร ขนาดที่ดินที่มีการถือครองมากที่สุด เทากับ
27 ไร และนอยที่สุด เทากับ 0.25 ไร ดานการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่แปลงรวมมีการใชที่ดินสําหรับการปลูก
ผักอินทรีย คิดเปนรอยละ 91.35 รองลงมา คือ ใชเพื่อเปนที่อยูอาศัย และการทําวนเกษตรและเกษตร
ผสมผสาน คิดเปนรอยละ 87.57 และ 79.46
โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนตามนโยบายของรัฐบาลคัดเลือกพื้นที่ตําบลแมทา อําเภอแมออน
จังหวัดเชียงใหม เปนพื้นที่นํารองสําหรับการดําเนินโครงการซึ่งเปนโครงการนํารองที่ชาวบานตําบลแมทายังไม
คอยคุนเคยมากนัก จากการประเมินความรูความเขาใจของเกษตรกรเกี่ยวกับโครงการ พบวา เกษตรกรสวน
ใหญมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับความเปนมา วัตถุประสงคของโครงการ และเงื่อนไขของการใชประโยชน
พื้นที่ของโครงการ อยางไรก็ตาม เกษตรกรยังมีความเขาใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับความเปนเจาของที่ดินของ
โครงการและผูที่ไดรับอนุญาตใหเขาทําประโยชน ทั้งนี้ โครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชนตามนโยบายของ
รัฐบาลเปนการเปลี่ยนแปลงระบบกรรมสิทธิ์ในที่ดินโดยอนุญาตใหเกษตรกรสามารถใชประโยชนที่ดินปาสงวน
แหงชาติไดอยางถูกตองตามกฎหมาย โดยมีระยะเวลาของการอนุญาต 30 ป เกษตรกรสวนใหญ รอยละ 91.4
เห็นดวยเกี่ยวกับโครงการจัดที่ดินทํากินใหกับชุมชน เนื่องจากการมีโครงการทําใหชุมชนมีความชอบธรรมทาง
กฎหมายในการใชประโยชนที่ดินปาสงวนแหงชาติ และรอยละ 70.30 ของเกษตรกรที่ใหสัมภาษณมีความ
มั่นใจมากขึ้นในการถือครองและใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ปา
2) สถานภาพการปรับใชระบบวนเกษตรและเงื่อนไขของเกษตรกร
ในพื้นที่โครงการจัดที่ดินทํากินใหชุมชนตําบลแมทา อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม มีเกษตรกรที่
ปรับใชระบบวนเกษตรทั้งหมด 59 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 5.6 ของจํานวนครัวเรือนทั้งหมด (1,051
ครัวเรือน) มีจํานวนแปลงวนเกษตร ทั้งสิ้น 76 แปลง และพื้นที่วนเกษตรรวมทั้งหมด 264.20 ไร ขนาดพื้นที่
แปลงวนเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือน เทากับ 4.13 ไร
พัฒนาการของการทําวนเกษตรในตําบลแมทา สามารถแบงออกเปน 3 ระยะ ชวงแรก (พ.ศ. 2525 –
2535) ซึ่งเปนระยะเวลาที่มีองคกรพัฒนาเอกชน “Northnet” เขาไปจัดกระบวนการเรียนรูในชุมชนและหนุน
เสริมใหเกษตรกรในตําบลแมทาปรับเปลี่ยนระบบการผลิตจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวมาเปนระบบเกษตรอินทรีย
ชวงที่สอง (พ.ศ. 2536 - 2545) เปนชวงที่มีการขยายเครือขายในตําบลแมทาโดยการสรุปบทเรียนของ
4