Page 95 -
P. 95
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
รองรับที่แน่นอน ในปัจจุบันกรอบงานวิจัยมุ่งเป้าตอบสนองความต้องการส าหรับการพัฒนา
ประเทศที่ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประกาศ มีทั้งหมด 25 สาขาดังต่อไปนี้
1) ข๎าว
2) มันสําปะหลัง
3) ยางพารา
4) อ๎อยและน้ําตาล
5) ปาล๑มน้ํามัน
6) พืชสวน/พืชไรํ (เชํน ข๎าวโพด ไม๎ผล พืชผัก ไม๎ดอกไม๎ประดับ)
7) สัตว๑เศรษฐกิจ
8) พลาสติกชีวภาพ
9) สมุนไพรไทย อาหารเสริมและสปา
10) อาหารเพื่อเพิ่มคุณคําและความปลอดภัยสําหรับผู๎บริโภค และการค๎า
11) วัสดุอุปกรณ๑เครื่องมือทางการแพทย๑และเวชภัณฑ๑
12) วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยํอม (SME)
13) การคมนาคมขนสํงระบบราง
14) โลจิสติกส๑และโซํอุปทาน
15) การศึกษาและสร๎างสรรค๑การเรียนรู๎
16) การแพทย๑และสาธารณสุข
17) ประชาคมอาเซียน
18) การบริหารจัดการการทํองเที่ยว
19) มนุษยศาสตร๑
20) การวิจัยและพัฒนาจิตพฤติกรรมเยาวชนและสังคมไทย
21) การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
22) สิ่งแวดล๎อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศ
23) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
24) การพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานความหลากหลายทางชีวภาพ
25) การสร๎างสรรค๑วิชาการงานศิลป
ดังนั้นจะเห็นได๎วําพืชเศรษฐกิจด๎านการเกษตรที่ได๎รับการสนับสนุนจากนโยบายรัฐบาลอยําง
จริงจัง คือ ข๎าว มันสําปะหลัง ยางพารา อ๎อย ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ และปาล๑มน้ํามัน ซึ่งได๎สรุปทิศทาง
และแผนงานวิจัยและพัฒนาไว๎ในหัวข๎อถัดไป
75