Page 94 -
P. 94

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                       บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
                              จัดการโซํอุปทานสินค๎าเกษตร เพิ่มมูลคําสินค๎าเกษตรจัดตั้งศูนย๑กลางและพัฒนาระบบ

                              ตลาดสินค๎าเกษตร เสริมสร๎างความมั่นคงทางอาหารและพลังงานอยํางยั่งยืน สนับสนุน

                              ความรํวมมือระหวํางภาครัฐกับเอกชน สํงเสริมการค๎าชายแดน และสร๎างความรํวมมือ

                              ระหวํางประเทศเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ตลอดจนสนับสนุนการจัดการ
                              ความเสี่ยงที่จะกระทบตํอพืชผลทางการเกษตร

                           3) เพิ่มความสามารถในการแขํงขันภาคการเกษตรด๎วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด๎วยการ

                              สํงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมด๎านการเกษตร พัฒนา

                              เทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตรและเชื่อมโยงข๎อมูลอยํางเป็นระบบ รวมทั้งสํงเสริมการ
                              นํางานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมไปใช๎ประโยชน๑

                           4) บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล๎อมอยํางสมดุลและยั่งยืน ด๎วยการฟื้นฟู

                              และอนุรักษ๑ทรัพยากรการเกษตร สํงเสริมการเกษตรที่เป็นมิตรตํอสิ่งแวดล๎อม พัฒนา

                              โครงสร๎างพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกทางการเกษตร บริหารจัดการพื้นที่ทํากิน
                              ทางการเกษตร และสร๎างภูมิคุ๎มกันทางการเกษตรตํอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

                       จากยุทธศาสตร๑การพัฒนาการเกษตร พบวําเน๎นไปที่การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

                   สินค๎าเกษตรตลอดโซํอุปทาน และเพิ่มความสามารถในการแขํงขันภาคการเกษตรด๎วยเทคโนโลยีและ

                   นวัตกรรม รวมไปถึงการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล๎อมอยํางสมดุลและยั่งยืน ซึ่ง
                   นําไปสูํการหาแนวทางในการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค๎าเกษตรที่สําคัญ (Zoning)



                   3.2 การจัดท าแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่ส าคัญ (Zoning)

                       จากแนวคิดในการจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning)  เพื่อการบริหารจัดการใช๎ที่ดิน
                   การเกษตรให๎เกิดประโยชน๑สูงสุดโดยพิจารณาจากปัจจัยแวดล๎อมการผลิตที่เกี่ยวข๎อง กระทรวงเกษตร

                   และสหกรณ๑จึงได๎กําหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจการผลิตสินค๎าเกษตรแล๎ว 20 ชนิดสินค๎า ประกอบด๎วย

                            -  สินค๎าพืช 13 ชนิด ได๎แกํ ข๎าว มันสําปะหลัง ยางพารา ปาล๑มน้ํามันข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑

                              อ๎อยโรงงาน ลําไย สับปะรดโรงงาน เงาะ ทุเรียนมังคุด กาแฟ มะพร๎าว
                            -  สินค๎าปศุสัตว๑ 5 ชนิด ได๎แกํ โคนม โคเนื้อ สุกร ไกํเนื้อ ไกํไขํ

                            -  สินค๎าประมง 2 ชนิด ได๎แกํ กุ๎ง และปลาน้ําจืด

                       ซึ่งจะเห็นได๎วํานโยบายด๎านการเกษตรของไทยเน๎นการเพาะปลูกพืชมากกวําปศุสัตว๑ และประมง

                   โดยหากพิจารณาจากแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจแล๎ว พืช 13  ชนิดที่ได๎ทําการ
                   คัดเลือกวําเป็นพืชเศรษฐกิจนั้น มีเพียง 6  ชนิดที่เป็นพืชเศรษฐกิจหลัก ได๎แกํ ข๎าว มันสําปะหลัง

                   ยางพารา อ๎อย ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ และปาล๑มน้ํามัน ที่ได้มีการก าหนดกรอบงานวิจัยและพัฒนา





                                                            74
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99