Page 90 -
P. 90

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy
                      ข๎อด๎อย

                       -  เทคโนโลยีในประเทศยังอยูํในระดับการวิจัยพื้นฐาน  ความสามารถในการนําเทคโนโลยี

                          ระดับสูงมาใช๎ยังมีข๎อจํากัด ขาดการการดูดซับเทคโนโลยี และไมํทันกับความก๎าวหน๎าใน

                          ตํางประเทศ
                       -  ด๎านการลงทุนทางด๎านเทคโนโลยีจากทั้งทางรัฐบาลและหนํวยงานเอกชน ยังขาดจุดคุ๎มทุนที่

                          ชัดเจน

                       -  กําลังคนที่มีความเชี่ยวชาญของประเทศยังมีอยูํอยํางจํากัด

                       -  ตลาดในประเทศมีจํากัด และยังขาดการสํงเสริมการนําผลิตภัณฑ๑ทางด๎านชีวภาพไปใช๎อยําง
                          ชัดเจน

                       -  การจัดการด๎านหํวงโซํมูลคํา ผลิตผลทางการเกษตร และ ของเหลือทิ้งที่มีศักยภาพในการ

                          นํามาใช๎เป็นวัตถุดิบ ยังไมํมีแนวทางการจัดทําอยํางแนํชัด  เชํน การบริหารจัดการเกษตร

                          แปลงใหญํ และการจัดการด๎านโลจิสติกส๑


                      โอกาส

                       -  ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม คุณภาพชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติ ในปัจจุบัน มุํงสูํ

                          bioeconomy ทั้งในและตํางประเทศ
                       -  ตลาดของอุตสาหกรรมทางด๎านชีวภาพ มีแนวโน๎มเพิ่มมากขึ้นทั้งในและตํางประเทศ

                       -  สารเคมีบางชนิด ที่สามารถผลิตได๎โดยใช๎กระบวนการทางชีวภาพ เชํน Succinic Acid และ

                          กรดแลคติก  มีคุณสมบัติเป็นสารตัวกลางที่ใช๎ในอุตสาหกรรมที่หลากหลาย  ซึ่งสามารถ

                          นําไปใช๎ทดแทนสารที่ผลิตด๎วยวิธีทางเคมี หรือจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมได๎
                       -  ปัจจุบันมีบริษัทตํางประเทศ สนใจ และลงทุนจัดตั้งโรงงานผลิต หรือรํวมทุนกับบริษัทใน

                          ประเทศ ในบางอุตสาหกรรม เชํน Corbion , Cargill, Purac, Evonik  ซึ่งเป็นโอกาสที่จะ

                          ชํวยให๎เกิดการพัฒนาทั้งทางด๎านเทคโนโลยี  และอุตสาหกรรมชีวภาพภายในประเทศ


                      ภัยคุกคาม

                       -  มีบริษัทรายใหญํในตํางประเทศจํานวนมากที่มีความพร๎อมผลิตในเชิงพาณิชย๑ มี

                          ความสามารถในเชิงแขํงขัน สามารถผลิตและบริหารจัดการ รวมถึงการใช๎เทคโนโลยีชั้นสูงใน

                          การผลิต ทําให๎มีต๎นทุนการผลิตต่ํา ซึ่งประเทศไทยเราไมํสามารถแขํงขันในตลาดโลกได๎
                       -  ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคมีมาตรการดึงดูดการลงทุนที่ดีกวํา

                       -  ในปัจจุบัน ต๎นทุนการผลิตผลิตภัณฑ๑ยังสูงกวําผลิตภัณฑ๑ที่ได๎จากปิโตรเลียม  เนื่องจากขาด

                          การบริหารจัดการหํวงโซํสินค๎าที่ดี และการลงทุนทางด๎านเทคโนโลยีมีต๎นทุนที่สูงมาก


                                                            70
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95