Page 85 -
P. 85

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy
                       7) กลยุทธ๑การวิจัย

                          นโยบายการวิจัยทางด๎าน Bioeconomy  ในกลุํมประเทศ G7 มีคุณลักษณะที่หลากหลาย

                   โดยไมํได๎ขึ้นอยูํกับหัวข๎อการวิจัยที่สําคัญเพียงอยํางเดียว แตํยังรวมถึงความต๎องการการเปลี่ยนแปลง

                   ทางวัฒนธรรมในภาคการวิจัย (Greater Interdisciplinarity and International Orientation of
                   Research Activities) ยิ่งไปกวํานั้นการวิจัยพื้นฐานและประยุกต๑ใช๎จะมีความเชื่อมโยงกันมากขึ้นโดย

                   ต๎องการการทํางานรํวมกันระหวํางสถาบันการศึกษาตําง ๆ มากขึ้น ยกตัวอยําง รัฐบาลบางประเทศ

                   เชํน ญี่ปุุน และฝรั่งเศส เห็นความเชื่อมโยงกันของแนวคิดสหวิทยาการทางด๎าน Bioeconomy  เป็น

                   โอกาสที่ดีที่จะชํวยสํงเสริมงานวิจัยแหํงชาติให๎ทันสมัย โปรแกรมการระดมทุนสํวนใหญํยังไมํมีความ
                   แตกตํางระหวํางชนิดของอุตสาหกรรม การนําไปใช๎ และการวิจัยขั้นพื้นฐานอยํางชัดเจน แตํมี

                   จุดมุํงหมายเพื่อการทํางานรํวมกันของระบบตลอดหํวงโซํมูลคําทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีการสนับสนุน

                   การวิจัยในรูปแบบใหมํๆ เชํน  การวิเคราะห๑ความเป็นไปได๎สําหรับนําไปใช๎ในอุตสาหกรรม และการ

                   สร๎างแรงจูงใจในเชิงพาณิชย๑ของการวิจัย ซึ่งหมายความรวมถึง มีการสนับสนุน โครงสร๎างพื้นฐานทาง
                   วิทยาศาสตร๑ และการใช๎เทคนิคตํางๆในการวิจัยสําหรับเทคโนโลยีที่มีความสําคัญที่เกี่ยวเนื่องกัน เชํน

                   การหาลําดับจีโนม High Throughput Technologies  และชีวสารสนเทศ โดยได๎รับการสนับสนุน

                   และจัดตั้งขึ้นในรูปแบบของศูนย๑ความเป็นเลิศแหํงชาติ ทั้งในสหรัฐอเมริกา เยอรมัน ฝรั่งเศส และ

                   สหราชอาณาจักร หัวข๎อการวิจัยที่มีความสําคัญในปัจจุบัน คือ การวิจัยทางด๎านพืช และการใช๎
                   ทรัพยากรชีวภาพอื่น ๆ (เชํนสาหรําย จุลินทรีย๑ และของเสียตกค๎าง) Conversion Technology และ

                   Biorefinery  รวมถึงเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีทางทะเล  ข๎อแตกตํางที่สําคัญระหวํางการ

                   วิเคราะห๑กลยุทธ๑ คือทัศนคติตํอพันธุวิศวกรรมของพืช ในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา และญี่ปุุน

                   ให๎สนับสนุนยีนเทคโนโลยี สําหรับการเกษตรและการปุาไม๎ เพื่อที่จะชํวยในการเพาะพันธุ๑พืชให๎มี
                   ลักษณะที่ดีที่สุด ในขณะที่ประเทศยุโรป ยังไมํยอมรับการใช๎ยีนเทคโนโลยีมากนัก



                       8) การศึกษาและการฝึกอบรม

                          Bioeconomy เป็นสาขาที่มีความซับซ๎อนสูง จึงต๎องใช๎ความรู๎ที่เป็นสหวิทยาการ ในประเทศ
                   สหรัฐอเมริกามีการกําหนดเปูาหมายในการศึกษาทางวิทยาศาตร๑ธรรมชาติ (Natural Sciences) และ

                   ชีววิทยาศาสตร๑ (Life  Sciences)  ให๎อยูํภายใต๎กรอบของ STEM  (Science,  Technology,

                   Engineering  and  Mathematics) โดยโครงการดังกลําวได๎เริ่มต๎นจากการปรับปรุงและการปรับตัว

                   ของการศึกษาในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
                          นโยบายของประเทศญี่ปุุน มองหาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในโรงเรียนและ

                   มหาวิทยาลัย งานวิจัยและการศึกษาควรจะเป็นแบบสหวิทยาการมากขึ้น และมุํงเน๎นในระดับสากล

                   ประเทศในกลุํมยุโรป G7 มีการพัฒนาโปรแกรมการฝึกอบรมเฉพาะทางด๎าน Bioeconomy ซึ่งมีการ


                                                            65
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90