Page 83 -
P. 83

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy
                   ของผลิตผลทางการเกษตรหรือผลิตผลจากปุาไม๎ ในทํานองเดียวกัน ในอิตาลี มีการรวมกลุํมของ

                   ภูมิภาค green clusters ในซาร๑ดิเนีย พีดมอนต๑ และแคว๎นลอมบาร๑เดีย โดยมีฝรั่งเศสเป็นผู๎สนับสนุน

                   ในระดับภูมิภาค Poles  de  competitivité โดยกลุํมดังกลําวให๎ความสําคัญกับระบบนิเวศ

                   โดยเฉพาะอยํางยิ่ง  Chimie du Vegetale หรือเคมีชีวภาพ
                          ในประเทศเยอรมนี รัฐบาลกลางได๎มีกลยุทธ๑ Bioeconomy ของตนเอง ในรัฐ North

                   Rhine-Westphalia มีนโยบายหลักมุํงเน๎นไปที่การสนับสนุนเทคโนโลยีชีวภาพทางการแพทย๑ การ

                   วินิจฉัย และการปฏิรูปการแพทย๑ รัฐ Baden-Württemberg        มีนโยบาย กลยุทธ๑การวิจัย

                   Bioeconomy  เกี่ยวกับอุตสาหกรรมสิ่งทอ โดยในพื้นที่มี ก๏าซชีวภาพ และลิกโนเซลลูโลสเป็น
                   อุตสาหกรรมหลัก รวมถึงมีการเพิ่มประสิทธิภาพของการใช๎สาหรําย และมีการสร๎างแบบจําลองทาง

                   Bioeconomy เพื่อใช๎ในการสนับสนุนของกลยุทธ๑ทางธุรกิจ



                       4) ผู๎ถือผลประโยชน๑รํวมในระดับโลก
                          สหภาพยุโรปมีการสํงเสริมทางด๎าน Bioeconomy มากกวําสิบปีจึงได๎รับการยกยํองในระดับ

                   สากลวําเป็นผู๎บุกเบิก รวมถึงมีการวิจัยจํานวนมาก ที่เป็นโครงการที่เกี่ยวข๎องกับกรอบเปูาหมายหลัก

                   โดยมีการสร๎าง Value Chain ของอุตสาหกรรมใหมํๆ ให๎มีมูลคําทางเศรษฐกิจ โดยนโยบายของแตํละ

                   ประเทศจะถูกกําหนดขึ้นเพื่อให๎สามารถแขํงขันกับประเทศตํางๆทั้งในยุโรปเอง และกับประเทศอื่นๆ
                   ทั่วโลก โดยท๎ายที่สุดแล๎วสหภาพยุโรปเองจะมีความสามารถไปแขํงขัน กับตลาดโลกได๎ นอกจากนี้ยัง

                   มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อสํงเสริมด๎านนวัตกรรมให๎แกํอุตสาหกรรมที่มีความเกี่ยวข๎องกับยุทธศาสตร๑ด๎าน

                   Bioeconomy โดยอุตสาหกรรมตํางๆ สามารถรับเงินสนับสนุนจากกองทุนได๎ ยกตัวอยํางเชํน ความ

                   รํวมมือระหวํางภาครัฐและเอกชนของ "อุตสาหกรรมชีวภาพ" (Biobased  Industries;  BIC)  โดยมี
                   เปูาหมายที่กําหนดไว๎อยํางชัดเจน คือการตั้ง Flagships ในกลุํมของการผลิตโรงงานอุตสาหกรรม

                   และ Biorefineries  และ BIC  มีการจัดตั้งกองทุนสาธารณะ โดยมีทุน 1 พันล๎านยูโร จาก  Horizon

                   2020  และ 2.8 พันล๎านยูโร จากการระดมทุนของภาคเอกชน สหภาพยุโรปเป็นผู๎มีสํวนได๎เสียหลัก

                   ของกลยุทธ๑ด๎าน Bioeconomy  ดังนั้น ในปัจจุบัน The United Nations (e.g. UNEP, UNCTAD
                   หรือ FAO), The World Bank, The IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change)

                   ตํางก็มีการปรับตัวและเริ่มกําหนดทิศทางของตนเองเกี่ยวกับ Bioeconomy อยํางไรก็ดี The World

                   Bank เริ่มมีการกําหนด Green Growth Knowledge Platform เกิดขึ้น









                                                            63
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88