Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
ความได๎เปรียบทางด๎านเทคโนโลยี โดย Bioeconomy ของสองประเทศนี้ ยังรวมไปถึงภาค
สาธารณสุข อุตสาหกรรมยาและนวัตกรรมบริการ เชํน ชีวสารสนเทศ เป็นต๎น ซึ่งการสํงเสริมและ
มาตรการดังกลําวเปรียบเทียบได๎วําเป็นนโยบายนวัตกรรมของประเทศ
ในประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติน๎อยแตํมีความแข็งแกรํงทางโครงสร๎างอุตสาหกรรม เชํน
เยอรมนี, ญี่ปุุน, ฝรั่งเศส และอิตาลี ยุทธศาสตร๑ทาง Bioeconomy เกิดขึ้นจากศักยภาพของ
นวัตกรรมของประเทศเป็นหลัก และรวมถึงศักยภาพในการฟื้นฟูศิลปวิทยาอุตสาหกรรม ซึ่งใน
ปัจจุบันยังได๎รับการสํงเสริมอยํางมากจากสหภาพยุโรปโดยเฉพาะอยํางยิ่งโดยคณะกรรมาธิการ
สหภาพยุโรปใหมํ นโยบายของสหภาพยุโรปตรงกันข๎ามกับทวีปอเมริกาเหนือ โดยสหภาพยุโรปไมํแบํง
ประเภทนวัตกรรมทางการแพทย๑และเทคโนโลยีชีวภาพเป็น Bioeconomy ในขั้นแรก นโยบายของ
สหภาพยุโรปมุํงเน๎นไปทาง พลังงานทดแทนการใช๎เชื้อเพลิงจากฟอสซิล ความรํวมมือในการลดก๏าซ
เรือนกระจก และขั้นที่สองคือ การประยุกต๑ใช๎เทคโนโลยี หรือวิธีการใหมํๆสําหรับการนําชีวมวลมาใช๎
ในการผลิต เพื่อให๎เกิดผลิตภัณฑ๑ใหมํ
ในประเทศที่ขาดแคลนทรัพยากร การเข๎าถึงและการใช๎ประโยชน๑จาก "ชีวมวลทางเลือก"
เชํน ก๏าซคาร๑บอนไดออกไซด๑ ของเหลือทิ้งหรืออื่น ๆ มีบทบาทที่สําคัญในการกําหนดแนวทาง
นโยบาย เพื่อความปลอดภัยการเข๎าถึงวัตถุดิบ ตัวอยํางเชํน ประเทศเยอรมนี ญี่ปุุน และสหราช
อาณาจักร มีความพยายามที่จะจัดตั้งกลุํมเทคโนโลยีนานาชาติ และความรํวมมือทางด๎านทรัพยากร
กับประเทศที่เกิดขึ้นใหมํ ซึ่งมีแหลํงอุดมสมบูรณ๑ของสารชีวมวล สหราชอาณาจักรมีการพัฒนา
ทางด๎านการบริการเป็นอยํางมาก มีการวิจัยทางด๎านชีววิทยาศาสตร๑อยํางดีเยี่ยม ทําให๎เป็นประโยชน๑
ตํอนโยบายทางด๎าน Bioeconomy โดยสามารถใช๎ประโยชน๑จากจุดแข็งเหลํานี้ในการพัฒนาทาง
วิทยาศาสตร๑อุตสาหกรรมที่มีมูลคําสูงได๎ และสามารถที่จะการพัฒนาความสามารถในการผลิตอยําง
กว๎างขวาง
2) นโยบายทางการเมือง
บางประเทศในกลุํม G7 สหภาพยุโรป ญี่ปุุนและเยอรมนี รวมถึง สหรัฐอเมริกา ใช๎กลยุทธ๑
“Top-Down” Approach โดยการพัฒนาทางด๎าน Bioeconomy จะขับเคลื่อนโดยภาคการเมืองที่
จะพัฒนาวิสัยทัศน๑ กลยุทธ๑และแผนปฏิบัติการ เพื่อสํงเสริมและกําหนดทิศทางเศรษฐกิจทางด๎าน
ชีวภาพ ประเทศเยอรมันเป็นประเทศเดียวเทํานั้นใน กลุํม G7 ที่มีทั้งการวิจัยเฉพาะและกลยุทธ๑ทาง
นโยบายรํวมกันโดยได๎รับการเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี สําหรับประเทศญี่ปุุนมีการกําหนด
แผนปฏิบัติการระดับชาติในการสํงเสริมการใช๎พลังงานชีวมวล มีเปูาหมายเชิงปริมาณในการใช๎
ประโยชน๑จากทรัพยากรหมุนเวียนและรวมถึงใช๎ชีวมวลในระดับอุตสาหกรรม
61