Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy
                          ประเทศสหรัฐอเมริกาได๎กําหนดนโยบายการเกษตร “Farm Bill” เพื่อที่จะสํงเสริมนวัตกรรม

                   เทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งนโยบายดังกลําว ครอบคลุมไปถึง การประเมินนวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ

                   นวัตกรรมการพัฒนาโครงสร๎างพื้นฐาน Bioeconomy และการผลิตชีวมวล ประเทศสหรัฐอเมริกา

                   เป็นประเทศเดียวที่มีโปรแกรมจัดซื้อจัดจ๎างสําหรับผลิตภัณฑ๑ชีวภาพที่เฉพาะเจาะจง เพื่อกระตุ๎น
                   ความต๎องการของตลาด

                          ในสหภาพยุโรปมีแนวความคิดริเริ่มที่คล๎ายกันนี้ ในประเทศอิตาลี, ฝรั่งเศสและแคนาดา จะ

                   ใช๎อุตสาหกรรมเป็นตัวขับเคลื่อน Bioeconomy หรือเรียกวําวิธีการแบบ “Bottom-up” Approach

                   ความคิดริเริ่มที่จะเริ่มต๎นและทุนสนับสนุนมาจากภาคเอกชน สําหรับภาคการเมืองจะมีหน๎าที่ระดม
                   ทุนการวิจัยและพัฒนาความรํวมมือระหวํางหนํวยงาน โดยจะกําหนดกรอบเงื่อนไข วิธีการของการ

                   จัดหาเงินทุน รองรับด๎านกฎหมาย และการแก๎กฎระเบียบตํางๆ รวมถึงพิจารณาด๎านอุปสงค๑

                   ยกตัวอยํางเชํน จัดซื้อจัดจ๎างที่เกี่ยวข๎องกับระบบนิเวศ (Ecological Procurement)   กําหนดอัตรา

                   ภาษีสําหรับพลังงานชีวภาพ ฯลฯ ดังนั้นบทบาทของภาคการเมืองในสหภาพยุโรปตํอนโยบายทางด๎าน
                   Bioeconomy จึงน๎อยกวําในสหรัฐอเมริกา ญี่ปุุน หรือเยอรมนี อยํางไรก็ดี เราไมํควรมองข๎ามการใช๎

                   ประโยชน๑ของนโยบายทางด๎าน Bioeconomy ในสหภาพยุโรป ยกตัวอยํางเชํน ในอิตาลีมีการเพิ่ม

                   การใช๎ของสารเคมีชีวภาพและอุตสาหกรรมแปรรูปพลาสติก เนื่องจากนโยบายการห๎ามใช๎ถุงพลาสติก

                   แบบที่ยํอยสลายไมํได๎ นอกจากนี้ ยังมีความคิดริเริ่มอีกเป็นจํานวนมากในการสนับสนุนนโยบาย เชํน
                   ฝรั่งเศส มีการใช๎เครื่องหมายหรือปูายตํางๆ เพื่อแสดงความเป็นมาตรฐาน เพื่อให๎ผู๎บริโภคสามารถ

                   เข๎าถึงได๎งําย เชํน การออกใบรับรองสําหรับหนํวยงานหรือกองทุนที่มีสํวนเกี่ยวข๎องกับ “Green”

                   Economy   ในการกํอสร๎างโรงงานอุตสาหกรรม มีการใช๎ฉลากพิเศษสําหรับอาคารที่กํอสร๎างโดยใช๎

                   วัสดุทางชีวภาพ
                          สหราชอาณาจักรเป็นประเทศหนึ่งที่มี นโยบายและวิธีการที่ไมํเหมือนกับประเทศอื่น

                   เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมมีขนาดใหญํ ทําให๎สามารถขับเคลื่อน Bioeconomy  ด๎วยตัวเองได๎

                   ตัวอยํางเชํน รัฐบาลไมํได๎มีการสนับสนุนมาตรการกลยุทธ๑พลังงานชีวภาพอยํางชัดเจน แตํอยํางไรก็

                   ตาม รัฐสภามีบทบาทที่สําคัญมากในการสนับสนุนเพิ่มเติมเกี่ยวกับศักยภาพของ Bioeconomy ซึ่งยัง
                   ไมํได๎เกิดขึ้นในประเทศกลุํม G7 อื่น ๆ



                       3) ผู๎ถือผลประโยชน๑รํวมในระดับภูมิภาค

                          ผู๎มีสํวนได๎เสียในภูมิภาคในบางประเทศในกลุํม G7 มีบทบาทอยํางมากในการกําหนดนโยบาย
                   ทางการเมืองที่เกี่ยวข๎องกับเศรษฐกิจทางชีวภาพ ยกตัวอยํางเชํน ในประเทศแคนาดา เชํน รัฐบริติช

                   โคลัมเบีย,  อัลเบอร๑ต๎า และออนตาริโอ ได๎พัฒนา Bioeconomy  ของตัวเอง โดยแนวคิดมุํงเปูาไปที่

                   กระบวนการผลิตสินค๎าทางชีวภาพ การผลิตที่มีประสิทธิภาพและการนําไปใช๎ให๎เกิดประโยชน๑สูงสุด


                                                            62
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87