Page 92 -
P. 92
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
2563 โดยนโยบายดําเนินกลยุทธ๑ตํางๆของญี่ปุุนมีเปูาหมายแผนปฏิบัติการสามารถวัดผลได๎ และมี
ตัวชี้วัดที่ชัดเจน
2) การใช๎ภาคอุตสาหกรรมเป็นตัวผลักดัน (Bottom-Up) เชํน ประเทศอิตาลี ที่ทาง
ภาคเหนือของอิตาลี มีการสร๎าง Bioeconomy ในสํวนของ อุตสาหกรรม Green Chemistry โดยใช๎
วิธีการ Bottom-Up Approach โดยได๎รับความชํวยเหลือจากโครงการวิจัยสหภาพยุโรป
ตัวอยํางเชํน การสร๎างโรงงานการสาธิตขนาดใหญํ สําหรับผลิต Succinic Acid ชีวภาพใน Cassano
Spinola, หรือ Butanediol ชีวภาพใน Venice ในสํวนนี้ได๎รับความรํวมมือจาก ฝรั่งเศส, เบลเยียม
และดัตช๑
เมื่อเปรียบเทียบกับบริบทของประเทศไทย พบวํา การกําหนดนโยบายของไทยในปัจจุบัน
เป็นแบบ Top-Down และจัดอยูํในกลุํมที่พิจารณาจากทรัพยากรที่มีอยูํเป็นหลัก เนื่องจากประเทศ
ไทยมีทรัพยากรอยูํเป็นจํานวนมาก แตํการพัฒนาทางด๎านเทคโนโลยียังไมํก๎าวหน๎า ทําให๎ยังไมํสามารถ
นําทรัพยากรมาใช๎อยํางมีประสิทธิภาพ และสํงผลให๎การผลักดันนโยบายที่เกี่ยวข๎องกับ
Bioeconomy เป็นไปด๎วยความเชื่องช๎า แตํหากพิจารณาจากนโยบาย Thailand 4.0 ที่มีการ
สนับสนุนการลงทุนจากภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น พบวํานโยบายของไทยกําลังจะเปลี่ยนจาก กลุํมที่
พิจารณาจากทรัพยากรที่มีอยูํเพียงอยํางเดียว ไปสูํการนําเทคโนโลยีเข๎ามาเป็นกลไกในการผลักดันใน
เกิดการพัฒนา Bioeconomy ของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงดังกลําว ประเทศไทยควรมีการ
ผลักดันนโยบายที่เกี่ยวข๎องกับการนําผลิตภัณฑ๑ชีวภาพไปใช๎ให๎มากขึ้น เพื่อทําให๎เกิดการพัฒนาอยําง
ตํอเนื่องตลอดหํวงโซํอุปทาน ซึ่งจะทําการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข๎องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ๑ และ
เทคโนโลยีในบทที่ 3 และบทที่ 4 ตามลําดับ
72