Page 100 -
P. 100
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
ในการขยายพื้นที่ปลูกที่เหมาะสม รูปแบบการปลูก การรวมกลุํมของเกษตรกร การใช๎เทคโนโลยีใน
การผลิต และมุํงเน๎นการเพิ่มมูลคําผลิตภัณฑ๑ของอุตสาหกรรมน้ํามันปาล๑มในขั้นตํางๆ
3.4 พืชเศรษฐกิจที่มีความสามารถในการจัดการส าหรับ Bioeconomy
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหํงชาติฉบับที่ 12 แนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตร
เศรษฐกิจ สินค๎าเกษตรที่สําคัญ (Zoning) และแผนงานสํงเสริมและสนับสนุนการวิจัยที่มุํงเปูา
ตอบสนองความต๎องการในการพัฒนาประเทศ สามารถสรุปได๎วําพืชเศรษฐกิจ 6 ชนิดที่มี
ความสามารถในการจัดการทาง Bioeconomy ได๎ครบวงจร ได๎แกํ ข๎าว มันสําปะหลัง ยางพารา อ๎อย
ข๎าวโพด(เลี้ยงสัตว๑) และปาล๑มน้ํามัน
เมื่อศึกษาข๎อมูลการใช๎ประโยชน๑ที่ดินภาคการเกษตร ปี 2558 (สํานักวิจัยเศรษฐกิจ
การเกษตร, 2559) สามารถแบํงการใช๎ประโยชน๑ที่ดินภาคการเกษตรออกเป็น 5 หมวดใหญํ คือ นา
ข๎าว พืชไรํ สวนไม๎ผลและไม๎ยืนต๎น สวนผักไม๎ดอก/ไม๎ประดับ และเนื้อที่ใช๎ประโยชน๑ทางการเกษตร
อื่น ดังแสดงสัดสํวนเป็นร๎อยละในภาพที่ 3.1 ซึ่งการใช๎ประโยชน๑ที่ดินสํวนใหญํเป็นนาข๎าว คิดเป็นร๎อย
ละ 47 รองลงมาเป็นสวนไม๎ผลและไม๎ยืนต๎น คิดเป็นร๎อยละ 23% ซึ่งสํวนใหญํเป็นพื้นที่ปลูกยางพารา
ถัดมาเป็นพืชไรํ คิดเป็นร๎อยละ 21 เนื้อที่ใช๎ประโยชน๑ทางการเกษตรอื่น คิดเป็นร๎อยละ 8 และสวนผัก
ไม๎ดอก/ไม๎ประดับ คิดเป็นร๎อยละ 1 ของเนื้อที่การใช๎ประโยชน๑ที่ดินภาคการเกษตรทั้งหมด ตามลําดับ
เมื่อพิจารณาจากสัดสํวนการใช๎ประโยชน๑ที่ดินภาคการเกษตรดังกลําว พบวํา ประมาณร๎อยละ 70
ของเนื้อที่การใช๎ประโยชน๑ที่ดินภาคการเกษตรทั้งหมด เป็นนาข๎าวและพืชไรํ ซึ่งพืชไรํหลักของ
ประเทศไทย มี ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ มันสําปะหลัง และอ๎อยโรงงาน
ภาพที่ 3.1 สัดสํวนเนื้อที่การใช๎ประโยชน๑ที่ดินภาคการเกษตรของประเทศไทย ปี 2558
80