Page 105 -
P. 105

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



                                       บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy






























                                ภาพที่ 3.6 การจัดการหํวงโซํอุปทาน (วรภัทร๑ สงวนไชยไผํวงศ๑, 2558)


                          นอกจากการจัดการหํวงโซํอุปทานหนํวยงานตําง ๆ ภายในองค๑กรแล๎วนั้น ยังมีการสร๎าง

                   ความสัมพันธ๑เชื่อมตํอกับองค๑กรอื่น ๆ อยํางมีประสิทธิภาพ เชํน ผู๎จัดหาวัตถุดิบ/สินค๎า (Suppliers)

                   บริษัทผู๎ผลิต (Manufactures)  บริษัทผู๎จําหนําย (Distribution)  รวมถึงลูกค๎าของบริษัท จึงเป็นการ

                   เชื่อมโยงกระบวนการดําเนินธุรกิจทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข๎องด๎วยกันเป็นหํวงโซํหรือเครือขํายให๎เกิดการ
                   ประสานงานกันอยํางตํอเนื่อง

                          นอกจากการศึกษามูลคําทางการตลาด ปริมาณผลผลิต และพื้นที่เพาะปลูก ของพืชเศรษฐกิจ

                   6 ชนิดที่มีความสามารถในการจัดการทางด๎าน Bioeconomy ของประเทศไทยแล๎วนั้น เราควรศึกษา

                   เกี่ยวกับหํวงโซํอุปทานของพืชเศรษฐกิจแตํละชนิดวําสามารถนําไปใช๎ประโยชน๑และผลิตผลิตภัณฑ๑
                   อะไรได๎บ๎าง จัดเป็นผลิตภัณฑ๑ขั้นต๎น ขั้นกลาง หรือผลิตภัณฑ๑ขั้นสุดท๎าย เพื่อจะสามารถประเมินและ

                   จัดการปริมาณวัตถุดิบแตํละชนิดได๎อยํางถูกต๎องเหมาะสม และสามารถวางแผนการผลิตในอนาคตให๎

                   เพียงพอและเหมาะสมกับการนําไปใช๎ในระดับอุตสาหกรรม โดยในการศึกษานี้ได๎จัดทําแผนภูมิแสดง

                   ภาพรวมของหํวงโซํอุปทานพืชเศรษฐกิจทั้ง 6  ชนิด ตั้งแตํ ต๎นน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา เพื่อให๎
                   สามารถมองเห็นภาพรวมของผลผลิตแตํละชนิดที่สามารถผลิตได๎
















                                                            85
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110