Page 104 -
P. 104
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3 พืชเศรษฐกิจที่สามารถนําไปพัฒนาสูํ Bioeconomy
ตารางที่ 3.1 แหลํงเพาะปลูกที่สําคัญของพืชเศรษฐกิจแตํละชนิด
ชนิดพืชเศรษฐกิจ แหล่งเพาะปลูก 5 อันดับแรก
ข๎าวนาปี อุบลราชธานี นครราชสีมา สุรินทร๑ ร๎อยเอ็ด ศรีสะเกษ
ข๎าวนาปรัง สุพรรณบุรี กําแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค๑ อยุธยา
มันสําปะหลัง นครราชสีมา กําแพงเพชร ชัยภูมิ กาญจนบุรี อุบลราชธานี
ยางพารา สุราษฎร๑ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช ตรัง ยะลา
อ๎อยโรงงาน กาญจนบุรี นครราชสีมา นครสวรรค๑ ขอนแกํน อุดรธานี
ข๎าวโพดเลี้ยงสัตว๑ เพชรบูรณ๑ นําน นครราชสีมา เลย ตาก
ปาล๑มน้ํามัน สุราษฎร๑ธานี กระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา
3.5 ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และปริมาณวัตถุดิบของพืชเศรษฐกิจ
การจัดการหํวงโซํอุปทาน เป็นการจัดลําดับของกระบวนการทั้งหมดที่มีตั้งแตํกระบวนการ
จัดซื้อ (Procurement) การผลิต (Manufacturing) การจัดเก็บ (Storage) เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology) การจัดจําหนํวย (Distribution) และการขนสํง (Transportation) ซึ่ง
กระบวนการทั้งหมดนี้จะจัดระบบให๎ประสานกันอยํางคลํองตัว หรือความพยายามทุก ๆ ประการ ที่
จะทําให๎เกิดความมีประสิทธิภาพในด๎านการผลิตและการจัดสํงสินค๎าหรือบริการ จากผู๎ผลิตสินค๎าถึงผู๎
ซื้อหรือลูกค๎า ทั้งนี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค๎าหรือบริการ สร๎างความพึงพอใจแกํลูกค๎า
แตํละหนํวยงานจึงมีความเกี่ยวเนื่องกันเหมือนหํวงโซํ โดยสามารถเรียงลําดับสํวนประกอบของหํวงโซํ
อุปทาน จากสํวนต๎นไปยังสํวนปลายได๎ดังนี้
1) ผู๎จัดจํายวัตถุดิบ/สํวนประกอบ (Raw Material/ Component Suppliers)
2) ผู๎ผลิต (Manufacturers)
3) ผู๎ค๎าสํง/ผู๎กระจายสินค๎า (Wholesalers/Distributors)
4) ผู๎ค๎าปลีก (Retailers)
5) ผู๎บริโภค (Customer)
84