Page 99 -
P. 99

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                                                                                                                                            THAI FOOD GOOD CHOICE

                                                                                                                                                 ¡ÒäǺ¤ØÁ¹íéÒ˹ѡ¡ÑºÍÒËÒÃä·Â







                                                                                                                                                                                   โดย

                                                                                                                                                                        ดร.อัญชนีย  อุทัยพัฒนาชีพ















                                                                                                                                         นับตั้งแต พ.ศ. 2533  องคการอนามัยโลก  (WHO) ไดเตือนชาวโลกใหตระหนักถึงภาวะโรคอวน หลังจากนั้นประมาณ  10 ป มี
                                                                                                                                       รายงานปญหาโรคอวนในชาวอเมริกันผูซึ่งมีความนิยมในการเปดรับวัฒนธรรมจากหลาย ๆ แหลงมาสูการปฏิบัติ รวมทั้งในเรื่องของ
                                                                                                                                       อาหารการกินที่เปลี่ยนไปตามสภาพสังคมและการเติบโตทางเทคโนโลยี  อันเปนปจจัยหลักของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตมนุษยหรือ
                                                                                                                                       ที่เรียกวา Life style จากการรายงานขององคกรเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic
                                                                                                                                       Co-operation and Development, OECD, 2014) พบวา รอยละ 18 ของประชากรผูใหญของประเทศสมาชิกประมาณ 34
                                                                                                                                       ประเทศเปนโรคอวน (Obesity) ถาประเมินตามรายประเทศพบวาประชากรผูใหญมากกวา 1 ใน 3 ของประเทศเม็กซิโก นิวซีแลนด

                                                                                                                                       และอเมริกา  และมากกวา 1  ใน 4  ของประชากรผูใหญใน เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด สถิติความชุกของผูปวยโรค
                                                                                                                                       ประเทศออสเตรเลีย แคนนาดา ชิลี และฮังการี ถาประเมินจาก อวนอันตรายและ/หรืออวนลงพุง (Abdominal obesity)
                                                                                                                                       ผูที่มีอายุ 18 ปขึ้นไปมีภาวะโรคอวนประมาณรอยละ 39 หรือ หมายถึง  โอกาสเกิดความเสี่ยงตอการเกิดโรคแทรกซอนอื่น ๆ
                                                                                                                                       มากกวาหาแสนลานคน  สวนภาวะนํ้าหนักเกิน (Overweight)  ในคนอเมริกันมีประมาณ 1 ใน 50 คน Bickertsaff (2016) อาง
                                                                                                                                       มีประมาณสองพันลานคน ประเทศสหรัฐอเมริกามีปญหา ภาวะ ถึงรายงานของสํานักงานโภชนาการประเทศไทยที่ระบุวา
                                                                                                                                       นํ้าหนักเกินและโรคอวนมากที่สุดเปนอันดับหนึ่งของโลก  คือ ประเทศไทยมีอัตราการเกิดภาวะโรคอวนจัดอยูใน 5 อันดับแรก
                                                                                                                                       รอยละ 61 มีภาวะนํ้าหนักเกิน และอีกรอยละ 27 มีภาวะโรค ของกลุมประเทศเอเชียแปซิฟค ภาวะโรคอวนในประเทศไทย มี
                                                                                                                                       อวนขณะที่ประเทศแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใตมีภาวะนํ้าหนัก แนวโนมจะขยายตัวเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต  จากผลการสํารวจ
                                                                                                                                       เกินรอยละ 22  ภาวะโรคอวนรอยละ 5  โดยมีอุบัติการเกิดกับ สุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรางกายในป 2552  พบคน
                                                                                                                                       เพศหญิงมากกวาเพศชายในเกือบทุกประเทศประเทศในเอเซีย ไทยอายุ 15 ปขึ้นไปมากกวา 1 ใน 3 อยูในภาวะนํ้าหนักเกิน
                                                                                                                                       ตะวันออกเฉียงใตพบผูหญิงมีภาวะโรคอวนมากกวาชายถึง 2 เทา  และอวนเพิ่มขึ้นสองเทาตัว  เมื่อเทียบกับในชวง 2  ทศวรรษที่
                                                                                                                                       องคการอนามัยโลก (WHO, 2016) รายงานวามีเด็กที่อายุนอย ผานมา (ป 2534 - 2552) และหากเปรียบเทียบในระดับภูมิภาค
                                                                                                                                       กวา 5 ป จํานวนมากกวา 42 ลานคน ที่มีภาวะนํ้าหนักเกินและ พบวา คนไทยอวนสูงสุดเปนอันดับ 2 จากทั้งหมด 10 ประเทศ
                                                                                                                                       จะเติบโตเปนผูใหญอวนพรอมกับเปนสาเหตุของการเกิดโรค ในอาเซียน รองจากประเทศมาเลเซียเทานั้น


                                                             98                                                                                                                     99


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                          การควบคุมนํ้าหนักกับอาหารไทย
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104