Page 103 -
P. 103

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                            ¤ÇÒÁàÊÕ觢ͧÀÒÇйíéÒ˹ѡà¡Ô¹                                                                                      ¡ÒûÃÐàÁÔ¹ÀÒÇйíéÒ˹ѡà¡Ô¹áÅÐâä͌ǹ



                  การที่แพทยและนักโภชนาการเปนกังวลในเรื่องภาวะนํ้าหนักเกินหรือโรคอวนของประชากรโลกเพราะเปนสาเหตุสําคัญนํามาซึ่ง       สามารถประเมินงาย ๆ โดยการชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง  อีกวิธีเปนการวัดไขมันใตผิวหนังซึ่งตองมีเครื่องมือชวย
                โรคตาง ๆ ไดแก                                                                                                       1.  การชั่งนํ้าหนัก  วัดสวนสูง  คานํ้าหนักตามสวนสูง (Weight for

                                                                                                                                         height) ในเด็กหากมากกวาคามัธยฐานเปอรเซ็นไทลที่ 50 ถา
                1. โรคเบาหวานประเภท 2 หรือประเภทไมพึ่งอินซูลิน เปนภาวะความลมเหลวของเซลลตับออนที่เรียกวา เบตาเซลล (Beta cell       นํ้าหนักที่ชั่งไดตามสวนสูงคิดเปนรอยละ  140 - 160  ของคา
                  (ß))  และการดื้อตอฮอรโมนอินซูลิน  ซึ่งหมายถึง  ระดับของอินซูลินที่ผลิตเพิ่มขึ้นแตไมสามารถไปลดระดับนํ้าตาลในเลือดได    มัธยฐานจัดเปนอวนปานกลาง ถาเกินรอยละ 160 จัดเปนอวนมาก
                  นํ้าตาลไมสามารถถูกขนสงเขาไปในเซลลเพื่อการเผาผลาญเปนพลังงาน  เบาหวานประเภทนี้มีความสัมพันธอยางยิ่งยวดกับ         สามารถสืบหาตารางหรือกราฟการเจริญเติบโตมาตรฐานที่วานี้
                  ภาวะอวนแบบลงพุง ที่มีการสะสมไขมันบริเวณหนาทอง (Visceral fat) เนื่องจากเซลลไขมันบริเวณนี้มีอัตราการสลายไขมันสูง     ไดจากเวปไซดของกรมอนามัย  กระทรวงสาธารณสุข  หรือขอจาก
                  (Lipolysis)  เปนผลใหกรดไขมันที่ถูกปลอยออกมาเดินทางเขาสูตับจํานวนมากทางหลอดเลือดที่สงไปยังตับ (Portal circula-    โรงพยาบาลในชุมชนได  สําหรับผูใหญอาจเปรียบเทียบกับนํ้าหนัก
                  tion)  และสงไปยังกลามเนื้อ  มีผลกระทบใหอินซูลินไมสามารถผลักดันนํ้าตาลใหเขาไปสูเซลลเหลานี้ได  นํ้าตาลกลูโคสในเลือด  ตัวมาตรฐาน หากนํ้าหนักอยูระหวางรอยละ 90 - 109 ของนํ้าหนัก
                  จึงยังคงมีปริมาณมากแมวาอินซูลินจะถูกผลิตมากขึ้นก็ตาม เปนผลใหเกิดภาวะเบาหวาน (Roden และคณะ, 1996)                   มาตรฐานจัดวาปกติ ถานํ้าหนักเทากับรอยละ 110 - 119 จัดเปน

                                                                                                                                         นํ้าหนักเกิน และถาเกินรอยละ 120 จัดเปนภาวะโรคอวน นํ้าหนัก
                2. โรคหัวใจและหลอดเลือด ในการศึกษาของ EUROASPIRE ระยะที่ 3 พบวาในผูปวยโรคหัวใจและหลอดเลือด จํานวน 2,392 คน            ตัวที่ควรเปนอาจคํานวณคราว ๆ  จากสวนสูงหนวยเปนเซนติเมตร
                  มีภาวะนํ้าหนักเกินถึงรอยละ 80 ทั้งเพศชายและหญิงที่มีดัชนีมวลกายมากกวา 29 กิโลกรัม/ตารางเมตร มีโอกาสเสี่ยงตอการ      ลบดวย 100 ในเพศชาย หรือลบดวย 110 ในเพศหญิง จะไดนํ้า
                  เปนโรคหัวใจและหลอดเลือดถึง 3 เทาของผูที่มีดัชนีมวลกาย ตํ่ากวา 21 กิโลกรัม/ตารางเมตร ทั้งนี้เพราะผูที่มีภาวะโรคอวน  หนักตัวที่ควรเปนโดยประมาณ ในหนวยกิโลกรัม
                  โดยเฉพาะการสะสมไขมันบริเวณหนาทองและกําบังลม  มีผลใหโครงสรางของหัวใจเปลี่ยนแปลงได  พบวาหองหัวใจมีขนาด
                  กวางขึ้น  ผนังกั้นหองหนาขึ้น  และเซลลหองหัวใจดานลางซายที่รับเลือดที่พาออกซิเจนมาจะขยายขนาดโตขึ้น  เปนผลใหเกิด
                  เลือดคั่งและหัวใจลมเหลว


                3. โรคกระดูกและขอ เด็กเล็กที่อวนมาก ๆ จะมีผลใหการพัฒนาการของกลามเนื้อและขอชากวาเด็กปกติ การเดินไมคลองตัว
                  รางกายตองรับนํ้าหนักมากทําใหขาโกง แมแตผูใหญก็เชนเดียวกันโดยเฉพาะผูสูงอายุมีภาวะของกระดูกพรุนอยูแลว การรับ
                  นํ้าหนักตัวเปนเวลานานทําใหเกิดอาการปวดขอและกระดูก นํามาซึ่งความเสื่อมสภาพของกระดูกเร็วกวาวัยอันควรได


                4. โรคความดันโลหิตสูงและไขมันสูงในเลือดรวมทั้งระบบทางเดินหายใจ  ผูที่มีภาวะอวนโดยเฉพาะการลงพุงจะไปกดทับระบบ                                                                                                         เปรียนเทียบคาดัชนีมวลกาย
                  การหายใจ เวลานอนปอดขยายตัวไดนอย ทําใหไดรับออกซิเจนตํ่า มีคารบอนไดออกไซดสูง จึงเปนอันตรายตอชีวิต


                5. โรคมะเร็ง การมีนํ้าหนักเกินมาตรฐานมาก ๆ เปนความเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งหลอดอาหารเนื่องจากการไหลยอนกลับของกรด
                  ในกระเพาะ  นอกจากนี้ยังเสี่ยงตอการเกิดมะเร็งที่ทางเดินปสสาวะมากกวาผูที่มีนํ้าหนักปกติถึง 3  เทา  รวมทั้งความเสี่ยงตอ     นอยกวา 18.5   18.5 - 22.9   23.0 - 24.9       25.0 - 29.9       มากกวา 30.0
                  มะเร็งที่ถุงนํ้าดี ลําไส ตอมลูกหมากและมะเร็งเตานม ทุกคาดัชนีมวลกายที่เพิ่มขึ้น 5 จุด จะทําใหมีความเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง     ผอม        สมสวน             ทวม            นํ้าหนักเกิน         อวน
                  ลําไสเพิ่มขึ้นรอยละ 24 ในเพศชาย และเพิ่มขึ้นรอยละ 9 ในเพศหญิง
                                                                                                                                       2. ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index, BMI)  เปนคาที่ใชอางอิงในผูใหญ  ปจจุบันมีการศึกษาวิจัยหาคาดัชนีมวลกายในเด็กโดย
                                                                                                                                         เปรียบเทียบกับผูใหญเพื่อใชในการคัดกรองความเสี่ยงตอภาวะอวนของเด็ก (Khadikar และคณะ, 2012) มีการกําหนดดังนี้


                                                                                                                                         2.1 คาดัชนีมวลกายของเด็กอายุ 5 - 18 ป แสดงในตารางที่ 1 เชน เด็กอายุ 9 ป มีคาดัชนีมวลกายหรือ BMI =14.35 เทากับมี
                                                                                                                                              ภาวะโภชนาการปกติเมื่อเทียบกับผูใหญอายุ 18 ปที่ 18.5 กิโลกรัม/ตารางเมตร (Australian Bureau of Statistics, 2012)

                                                             102                                                                                                                    103


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                          การควบคุมนํ้าหนักกับอาหารไทย
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108