Page 102 -
P. 102

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                               ขณะเดียวกัน ยังพบเด็กอวนตั้งแตในระดับปฐมวัย (อายุ 1-5 ป)             2. สิ่งแวดลอม
                                                             และวัยเรียน (อายุ 6-14  ป)  ขยายตัวมากจนนาเปนหวง  คือเด็ก                ไดแก อาหารที่บริโภค การดําเนินชีวิตประจําวัน อิทธิพล
                                                             นักเรียนทุก ๆ 10 คน จะพบผูที่มีภาวะนํ้าหนักเกินและอวนอยาง                ของวัฒนธรรม วิถีชีวิตและการเลี้ยงดู เชน เด็กทารกที่เลี้ยง
                                                             นอย 1 คน สถานการณโรคอวน มีความรุนแรงแตกตางไปในแตละ                     ดวยนมผสมในปริมาณมาก  หรือเด็กที่กินขนมหวานมาก ๆ
                                                             ภูมิภาคเพิ่มขึ้นตามระดับการพัฒนาและฐานะทางเศรษฐกิจโดย                       ถูกเลี้ยงดวยนํ้าอัดลม  นํ้าหวาน  ขนมขบเคี้ยวที่มีไขมันและ
                                                             อัตราสูงสุดอยูในเขต  กรุงเทพมหานคร  และตํ่าสุดในภาคตะวัน                   แปงสูง จนทําใหไดรับพลังงานมากเกินความตองการ พลังงาน
                                                             ออกเฉียงเหนือ  อัตราการเพิ่มนี้รวดเร็วกวาเด็กจีน  อินเดีย                  เหลือใชเหลานี้ ก็จะเก็บสะสมไวในรูปของไขมัน เด็กจะอวน
                                                             เกาหลี  ญี่ปุน  ฟลิปปนส  อินโดนีเซีย  มาเลเซีย  เวียดนาม  หรือ          และติดรสชาติหวานไปจนเปนผูใหญ การเจริญเติบโตทางดาน
                                                             ออสเตรเลีย สํานักโภชนาการ (2553) รายงานวา ป 2551-2552                     อุตสาหกรรมอาหาร  สื่อโฆษณา  โทรทัศนนับเปนสื่อโฆษณา
                                                             ความชุกของภาวะอวน (มีคา BMI ≥ 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร) มี                   ที่มีอิทธิพลตอเด็กมากที่สุด  ในประเทศชิลีมีการสํารวจการ
                                                             แนวโนมสูงขึ้นอยางชัดเจน  โดยเฉพาะผูหญิง  ความชุกเพิ่มจาก                 ดูโทรทัศนของเด็กชั้นประถมศึกษา  274  คน พบวารอยละ

                ที่มา : www.trueplookpanya.com/true/activity_detail.   รอยละ 34.4 เปนรอยละ 40.7 สวนในผูชายเพิ่มจากรอยละ 22.5      92  ดูโทรทัศนทุกวันซึ่งคงไมแตกตางไปจากเด็กไทยในวันนี้
                      php?cms_id=19742                       เปนรอยละ 28.4
                                                                                                                                         ในจํานวนนี้รอยละ 40 ไดเคยลองบริโภคขนมหวานที่มีโซเดียมสูงตามโฆษณาทางโทรทัศน สําหรับเด็กไทยอายุ 3 - 15 ป จํานวน
                    ถึงแมวาความชุกของระดับอวนอันตรายในคนไทยจะมีไมมากเทาประเทศตะวันตก  แตการศึกษาวิจัยพบวาความเสี่ยงของคน          1,589 คน ก็บริโภคอาหารวางประเภทขนมขบเคี้ยวมากกวาอาหารหลักเชนกัน และไดพลังงานจากขนมเหลานี้ มากกวา 1 ใน 4
                เอเซียตอภาวะแทรกซอนมีมากกวาชาวตะวันตก  แมจะมีคาดัชนีมวลกายเทาคนตะวันตกก็ตาม  การติดตามผลภาวะนํ้าหนักเกินพบ         ของพลังงานที่ไดรับทั้งวัน ขนมขบเคี้ยวที่เด็กวัยเรียนชอบเปนอันดับแรก คือ มันฝรั่งทอดกรอบ (อัญชนีย และคณะ, 2549) ทั้งนี้
                วารอยละ 10 - 20 ของทารกที่อวนจะเติบโตเปนเด็กที่อวนรอยละ 40 ของเด็กอวนในวัยเด็กจะเปนวัยรุนที่อวน และรอยละ 75 - 80   อาจเพราะมีการกระจายของสินคาประเภทนี้มากในตลาดทั่วประเทศและมีราคาที่เด็กสามารถซื้อได  ในสวนของเด็กโต  ความถี่
                ของเด็กวัยรุนที่อวนจะเปนผูใหญที่อวน หรือกลาวไดวาประมาณ 1 ใน 3 ของเด็กอวนจะเปนผูใหญที่อวนตอไป หากไมชวยกันแกไข  ของการดื่มนํ้าอัดลมจะพบวาเพิ่มมากขึ้น  นี่คือสาเหตุของการเพิ่มอัตราโรคอวนในเด็กและเติบโตเปนผูใหญอวนในอนาคต
                เสียตั้งแตวันนี้  อนาคตประเทศไทยก็จะมีแตประชากรที่เต็มไปดวยโรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน โรคไต ขอเขาเสื่อม ฯลฯ       เพราะอาหารเหลานี้ใหพลังงานสูงจากแปง  นํ้าตาล  และไขมัน  โดยเฉพาะนํ้าอัดลมจัดเปน empty calories  เปนอาหารที่ให
                                                                                                                                         พลังงานจากนํ้าตาลอยางเดียวและไมใหสารอาหารอื่น ๆ ที่ควรไดรับ เมื่อบริโภคแลว ทําใหอิ่มทอง ไมอยากบริโภคอาหารหลักที่
                                               ÊÒàËμآͧ¡ÒÃà¡Ô´âä͌ǹ                                                                   ใหสารอาหารครบตามความตองการของรางกาย ดังนั้นแมวาเราจะไมสามารถเปลี่ยนพันธุกรรมของรางกาย..... แตเราก็สามารถ

                                                                                                                                         เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและระดับการออกกําลังกายประจําวันได
                  ภาวะนํ้าหนักเกินจนกลายเปนโรคอวนมาจากปจจัย  3 ประการคือ
                                                                                                                                       3. สภาวะทางจิต
                                                               1. พันธุกรรม
                                                                                                                                          จิตใจมีผลตอพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
                                                                 พบวาในครอบครัวที่บิดามารดาอวน  ลูกจะอวนดวย  ปจจัย                  เชน ความเบื่อหนาย ความซึมเศรา ความโกรธ
                                                               ทางพันธุกรรมมีผลตอกระบวนการเผาผลาญไขมันและการ                            พบวารอยละ 10 ของสาเหตุภาวะนํ้าหนักเกิน
                                                               ควบคุมการทํางานของฮอรโมนและโปรตีนที่มีอิทธิพลตอความ                     มาจากจิตใจที่สงผลใหมีการบริโภคอาหารมาก
                                                               อยากอาหาร  รวมทั้งฮอรโมนเลปติน (Leptin)  ที่ปลอยมาจาก                   และไมสามารถควบคุมการบริโภคอาหารได
                                                               เซลลไขมัน  เมื่อระดับของฮอรโมนเพิ่มขึ้นจะไปลดความอยาก
                                                               อาหาร เด็กที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรม เชน มีการกลายพันธุ
                                                               ที่ทําใหขาดฮอรโมน Leptin  จะมีผลใหเกิดโรคอวนตั้งแตยังเด็ก
                                                               ได เปนตน งานที่สนับสนุนในเรื่องนี้ ไดแก การศึกษาของแพทย
                                                               หญิงชรินพร (ไมปรากฎป)  ที่เก็บขอมูลผูปวยเด็กอวนในคลินิก
                                                               โภชนาการ  โรงพยาบาลรามาธิบดี  พบวารอยละ 75  ของเด็ก
                                                               อวนมีประวัติบิดาและ/หรือมารดาอวน

                                                             100                                                                                                                    101


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                          การควบคุมนํ้าหนักกับอาหารไทย
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107