Page 82 -
P. 82

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                                                                                                                                               7. ¡ÅÔè¹ËÍÁ
                ตารางที่ 3 : ปริมาณสารตานอนุมูลอิสระ และสารประกอบโพลีฟนอลของอาหารวางไทยแตละชนิด
                                                                                                                                         ขนมไทยแตดั้งเดิมนิยมใชกลิ่นหอมธรรมชาติจากดอกไมหลายชนิด  เชน  กลิ่นนํ้าลอยดอกมะลิ  กลิ่นกุหลาบ  กลิ่นดอกกระดังงา
                                                                                         ปริมาณสารประกอบ                               กลิ่นใบเตยหอม เปนตน ปจจุบันมีการใชกลิ่นสังเคราะหกันมากขึ้น
                                                   ปริมาณสารตานอนุมูลอิสระ*                 โพลีฟนอล*
                        ตัวอยาง                                                                                                                                           8. à¤Ã×èͧ»ÃاÍ×è¹ æ
                                                DPPH               FRAP values #               GAE¥
                                         (%Scavenging activity)     (ไมโครโมล/กรัม)        (มิลลิกรัม/กรัม)
                                                                                                                                         นอกเหนือจากเครื่องปรุงพื้นฐานดั้งเดิมดังที่กลาวมาแลว มีการใชเครื่องปรุงชนิดอื่น ๆ อีกหลายชนิด ในที่นี้ขอกลาวถึงโดยสังเขป
                  1. กระทงทอง                 37.06 ± 0.09           0.183 ± 0.02           4.33 ±  8.50                               ดังนี้
                  2. กลวยทอด                 84.27 ± 0.15           1.459 ± 0.11         141.33 ± 24.03                               8.1   ไข

                  3. ขาวเกรียบปากหมอ         8.89 ± 0.11           0.231 ± 0.01           3.00 ±  1.15                                        เปนเครื่องปรุงที่สันนิษฐานวาเริ่มนํามาใชในการทําขนมไทยในสมัย
                                                                                                                                            สมเด็จพระนารายณมหาราช  ในการทําขนมไทยนิยมใชไขไกมากกวาไขเปด
                  4. ขาวตังทอด               10.01 ± 0.15           0.208 ± 0.00           0.33 ± 43.35                                    เพราะไขเปดมีกลิ่นคาวมากกวาไขไก ไขไก มีขนาดเล็กกวาไขเปด ขนมไทยที่

                  5. ขาวเหนียวมูน             1.82 ± 0.02           0.066 ± 0.01           1.00 ± 12.06                                    ใชไขในการทําขนมไทย  เชน  ขนมฝอยทอง  ทองหยิบ  ทองหยอด  เม็ดขนุน
                  6. ชอมวง                  23.84 ± 0.05           0.215 ± 0.01           2.67 ±  5.20                                    ทองเอก  หมอแกงไข  สังขยา  การใชไขทําขนมไทย  ทําใหขนมหลายชนิดมี
                                                                                                                                            ลักษณะเฉพาะตัว มีสีเหลืองทอง สวยงาม ชวนรับประทาน
                  7. ถุงทอง                   36.80 ± 0.25           0.169 ± 0.02           1.33 ±  0.58

                  8. มาฮอ                   42.78 ± 0.26           0.571 ± 0.00         170.33 ± 66.71                               8.2  ถั่ว
                                                                                                                                                ที่นํามาใชเปนสวนผสมของขนมไทยหลายชนิด  เชน  ถั่วเขียวเราะเปลือก
                  9. เมี่ยงคํา                58.39 ± 0.18           0.788 ± 0.02         225.00 ± 51.94
                                                                                                                                            ถั่วดํา ถั่วลิสง
                 10. ลาเตียง                 40.96 ± 0.02           0.172 ± 0.03          95.33 ±  6.56
                                                                                                                                            ถั่วเขียวเราะเปลือก : มีสีเหลือง มีชื่อเรียกหลายชื่อ เชน ถั่วทอง ถั่วซีก ผูชวย
                หมายเหตุ : *  คาเฉลี่ยจากการทดสอบสองครั้งที่ใชตัวอยางที่เตรียมใหม                                                       ศาสตราจารยทัศนีย โรจนไพบูลย (2559) ไดใหความรูไววา แตเดิมการเตรียม
                         # FRAP value แสดงคาเปนไมโคลโมลของ Ferrous tripyridyltriazine ตอกรัมตัวอยางแหง                                 ถั่วเขียวเราะเปลือก จะตองเตรียมกันเอง  โดยจะตองเลือกซื้อถั่วเขียวที่เรียก
                         ¥ GAE แสดงคาเปนมิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิค (Gallic acid equivalent (GAE)) ตอกรัมของตัวอยางแหง                  วา “ถั่วทอง” มาใช ซึ่งเปนถั่วเขียวที่มีเปลือกหุมเมล็ดที่มีสีเขียวอมเหลือง มี
                                                                                                                                            เมล็ดโต และมีกลิ่นหอมชวนรับประทานเมื่อนํามาหุงตม สวนถั่วเขียวอีกชนิด
                ที่มา : แกว และ มลฤดี (2553)
                                                                                                                                            นั้น จะมีเปลือกหุมเมล็ดสีเขียวตามปกติและสีเขียวอมดํา เรียกวา “ถั่วเขียวผิว
                                                                                                                                            ดํา” การเรียกชื่อถั่วทองดั้งเดิมจึงเปนการเรียกตามชื่อของชนิดเมล็ดถั่วเขียวที่
                6.2  สีสังเคราะห  (Artificial color, Synthetic dye)                                                                         นํามาใชในการเราะเปลือก  ไมไดเรียกตามสีเหลืองของถั่วเขียวที่เราะเปลือก           ถั่วเขียว
                                                                                                                                            ออกแลว  ขนมที่ใชถั่วเขียวเราะเปลือก  เชน  ถั่วแปบ  หรือนํามาบดละเอียด
                  หมายถึง สีอินทรียที่ไดจากการสังเคราะหทางเคมี อยูในรูปของสีนํ้า สีผง หรือสีครีม                                        กวนแลวปน ระบายสี แลวชุบวุนเปน ลูกชุบ หรือนํามากวนผสมนํ้าตาล และ
                เปนสีที่อนุญาตใหใชในอาหาร ดังนี้                                                                                         กะทิ  อัดใสพิมพ  เปนถั่วกวน  กลาวกันวาการนําถั่วเขียวนึ่งมาทําขนมมีมา

                  สีแดง   ปองโซ 4 อาร (Ponceau 4R) คารโมอีซีน (Camoisine)                                                                 ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา
                         เออริโธซิน (Erythrosine)                                                                                           ถั่วดํา : ใสในขนมไทยไมกี่ชนิด นิยมใชทั้งเมล็ด โดยตมหรือนึ่งใหสุกกอน เชน
                  สีเหลือง  ตารตราซีน (Tartrazine) ซันเซ็ตเย็ลโลว เอ็ฟซีเอ็ฟ (Sunset yellow FCF)                                          ขาวตมผัด ขาวหลาม ถั่วดําตมนํ้าตาล ขนมถั่วดํา
                         ไรโบฟลาวิน (Riboflavin)
                  สีเขียว   ฟาสต กรีน เอ็ฟซีเอ็ฟ (Fast green FCF)                                                                          ถั่วลิสง : ใชในขนมไทยนอย  สวนใหญใชโรยหนาขนมผักกาดกวน หรือคั่วสุก
                  สีนํ้าเงิน  อินดิโกดิน (Indigotine) บริลเลียนทบลู เอ็ฟซีเอ็ฟ (Brilliant blue FCF)  สีผสมอาหารสังเคราะห                  โรยหนาขนมจามงกุฏ                                                                   ถั่วดํา
                                                             80                                                                                                                     81


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                               สารพันขนมไทย
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87