Page 77 -
P. 77

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                                                                                                                                             5. à¹×éÍÁоÌÒÇ


                                                                                                                                                                    เนื้อมะพราวที่นํามาใชในขนมไทยมีหลายรูปแบบ
                 สวนประกอบของกรดไขมันในกะทิ

                  กะทิมีสวนประกอบของไขมันเกือบกึ่งหนึ่ง  ในกะทิคั้นเองพบวามีไขมันรอยละ 41.76  กะทิคั้นขายในตลาดสดที่เปนหัวกะทิมี
                ไขมันรอยละ 40.72 และในหางกะทิมีไขมันรอยละ 9.96 สวนในผลิตภัณฑกะทิสําเร็จรูปมีไขมันนอยกวา แบบยูเอชทีมีไขมันรอยละ
                15.93 - 16.83 แบบพาสเจอไรซรอยละ 19.35 - 21.81 สวนกะทิผงเมื่อนํามาเติมนํ้าตามที่กําหนดมีไขมันรอยละ 50.10 (ตารางที่ 1)
                ในปจจุบันมีการผลิตกะทิยูเอชทีที่ระบุวาเปนแบบหัวกะทิมีไขมันที่ระบุบนฉลากโภชนาการ คือ รอยละ 22 - 28

                  จากการวิเคราะหสวนประกอบของกรดไขมันในกะทิและ  ซึมโดยตรงและถูกนําไปใชในเผาผลาญเปนพลังงานไดเร็ว  จึง
                ผลิตภัณฑกะทิพบวา สวนใหญคือ กรดไขมันอิ่มตัว คือ ในกะทิ  เปนที่คาดหวังวาไมนาจะสงผลตอระดับไขมันในเลือดมากนัก
                สดประกอบดวยกรดไขมันอิ่มตัวเฉลี่ยรอยละ 91.53 กรดไขมัน  นอกจากนี้มีรายงานกลาววา  กรดลอริกมีสวนชวยเพิ่มระดับ
                ไมอิ่มตัวตําแหนงเดียวรอยละ 7.06 และกรดไขมันไมอิ่มตัวหลาย  คอเลสเตอรอลที่ดี  ที่เรียกวา HDL-cholesterol (Mensink
                ตําแหนงรอยละ 1.41 ของปริมาณไขมันทั้งหมด โดยในสวนของ  et. al, 2003) การมี HDL Cholesterol เพิ่มขึ้น จะชวยลด
                กรดไขมันอิ่มตัวของกะทิสดพบวาประมาณกึ่งหนึ่ง คือ กรดลอริก   ความเสี่ยงตอการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด  การศึกษาผลของ
                (Lauric acid) (C12:0) (เฉลี่ยรอยละ 47.90) รองลงมาคือ กรด  การบริโภคกะทิตอระดับไขมันหรือโรคหัวใจขาดเลือดหรือตอ       มะพราวออน                                      มะพราวทึนทึก
                ไมริสติก (Myristic acid; C14:0)  เฉลี่ยรอยละ 20.35  กรด  สุขภาพยังนับวานอยมาก  หรือแมแตการศึกษาวาคนไทยที่          คือ มะพราวที่มีเปลือกบาง มีสีขาว เนื้อมะพราวจะนุม นิยม    คือ มะพราวกลางออนกลางแก กะลาเปนสีนํ้าตาลออน ถา
                ปาลมมิติก (Palmitic acid; C16:0) เฉลี่ยรอยละ 10.45 และ  บริโภค กะทิกันมาเปนเวลาชานาน  มีปญหาสุขภาพอะไรบาง        ใชรับประทานสดทั้งเนื้อและนํ้า  และใชเปนสวนผสมของขนม  เปนสีดํา แสดงวาเปนมะพราวแก มะพราวทึนทึกนิยมนํามาขูด
                พบสัดสวนของกรดไขมันดังกลาวในลักษณะทํานองเดียวกัน  ที่เกี่ยวของกับการบริโภคกะทิ อยางไรก็ดีหากยึดหลักโภชนาการ        ไทย เชน วุนกะทิมะพราวออน สาคูเปยกมะพราวออน บัวลอย   ฝอยทําเปนไสขนม  เชน  ไสกระฉีก  ใชทําเปนขาวตมหัวหงอก
                ในผลิตภัณฑกะทิ (ทัศนีย  และคณะ, 2551)  กรดลอริกเปน   ในการบริโภคอาหารที่หลากหลายในปริมาณที่พอเหมาะ  ไม             หมอแกงมะพราวออน สังขยามะพราวออน ขาวเหนียวเปยก  หรือใชโรยหนาขนมหลายชนิด ใหรสหวานมัน เชน ขนมเปยก
                กรดไขมันที่มีสายโซปานกลางหรือเรียกวามีขนาดโมเลกุลปาน  มากเกินไป หรือนอยเกินไป ยอมลดความเสี่ยงตอการเกิดโรค                                                          ปูน ขนมขี้หนู ขนมเหนียว ขนมถั่วแปบ
                กลาง (Medium-chain fatty acid) ประกอบดวยธาตุคารบอน   ที่เกี่ยวของกับการบริโภคอาหาร
                12 อะตอม มีสูตรโมเลกุล คือ C H O  เปนกรดไขมันที่ถูกดูด
                                      12 24 2





                ตารางที่ 1  : ปริมาณไขมันและกรดไขมันในกะทิสด กะทิสําเร็จรูป กะทิผง และกะทิธัญพืช


                                                               ปริมาณไขมัน (กรัม/100 กรัม)
                         ไขมัน            กะทิ   กะทิในตลาดสด    กะทิสําเร็จรูป 2 ยี่หอ  กะทิ  กะทิธัญพืช
                                         คั้นเอง  หัวกะทิ  หางกะทิ  UHT   พาสเจอไรซ  ผง   UHT 2 ยี่หอ ขวด 1 ยี่หอ

                 ไขมันรวม                41.76   40.72   9.96  15.93-16.83 19.35-21.81  50.10  16.58-17.36  26.78
                                                                                                                                       มะพราวกะทิ                                      มะพราวแก
                 กรดไขมันอิ่มตัว         91.38   91.68   90.28  92.24-92.50 88.25-92.70  96.47  23.86-36.0  23.68
                                                                                                                                         คือ มะพราวที่มีลักษณะพิเศษ เกิดจากความผิดปกติจากยีน    นํามาคั้นเปนกะทิเปนสวนผสมในขนม  หรือราดหนา  เชน
                 กรดไขมันไมอิ่มตัวตําแหนงเดียว  7.16  6.96  8.02  6.45-6.51  6.18-9.75  2.84  30.20-40.73  40.82                     ดอย  ทําใหมีเนื้อหนา  มีลักษณะฟูเปนปุยขาว  นํ้าจะขนหนืด  ผสมในกลวยบวชชี  แกงบวด  หรือตักกะทิราดหนาขนม  เชน

                 กรดไขมันไมอิ่มตัวหลายตําแหนง  1.46  1.36  1.70  1.05-1.25  1.12-2.00  0.69  33.31-35.41  35.5                       เปนยาง นิยมนํามาใสเปนสวนผสมของขนม เชน ทับทิมกรอบ   หนาขาวเหนียวมูน สาคูเปยก บัวลอย
                                                                                                                                       ซาหริ่ม บัวลอย นํ้าแข็งใส
                 ที่มา: ทัศนีย และคณะ (2551)
                                                             76                                                                                                                     77


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                               สารพันขนมไทย
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82