Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                สารใหความหวานแทนนํ้าตาล                                                                                               2) สารใหความหวานที่ไมใหพลังงาน (Non-nutritive sweetener)

                  เนื่องจากปญหาโรคอวนและโรคเบาหวานที่เพิ่มมากขึ้น สงผลใหผูบริโภคระมัดระวังการรับประทานอาหารที่มีนํ้าตาลมากยิ่งขึ้น     สารใหความหวานกลุมนี้ สวนใหญเปนสารใหความหวานประเภทสังเคราะหขึ้น (Artificial sweeteners) โดยใหพลังงานนอย
                การทําขนมไทยที่ดีจึงควรใหขนมไทยมีความหวานแตพอเหมาะ  และหากตองการพัฒนาเปนขนมไทยเฉพาะกลุมที่ตองการอาหาร              กวารอยละ  2 ของพลังงานที่ไดจากนํ้าตาลซูโครสที่ระดับความหวานเทากัน  มีหลายชนิด ตัวอยางเชน
                ที่มีนํ้าตาลนอย  สามารถเลือกใชสารใหความหวานที่ใหพลังงานนอยกวานํ้าตาล  โดยทั่วไปสารใหความหวานที่ใชทดแทนนํ้าตาล
                เพื่อใหพลังงานตํ่ากวาหรือบางชนิดอาจไมมีพลังงานเลย  แบงออกเปน  2 ชนิด คือ                                          •  แอสปารเทม (Aspartame) มีความหวานมากกวานํ้าตาล  •  อะเซซัลเฟม โปแตสเซียม (Acesulfame potassium)
                                                                                                                                         ทราย 180 - 200 เทา ใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี/กรัม แต  หรือ อะเซซัลเฟม เค (Acesulfame K) หรือยอวา “Ace
                1) สารใหความหวานที่ใหพลังงาน (Nutritive sweetener)                                                                     เนื่องจากใชปริมาณนอย  จึงทําใหไดพลังงานนอยไปดวย   K”  เปนเกลือของสารประกอบที่ใหความหวานมากกวานํ้า

                  สารใหความหวานกลุมนี้ที่นิยมใชทดแทนนํ้าตาลคือ นํ้าตาลแอลกอฮอล (Sugar alcohol) หมายถึง นํ้าตาลที่มีโครงสรางทาง      ผูที่มีความบกพรองทางพันธุกรรมซึ่งปวยเปนโรคฟนิลคี  ตาล 200  เทา  เปนสารใหความหวานที่ไมใหพลังงานแก
                  เคมีอยูในรูปของแอลกอฮอล ซึ่งไดจากปฏิกิริยาเคมี นํ้าตาลแอลกอฮอลจัดอยูกลุมเดียวกับนํ้าตาลซูโครส คือ เปนนํ้าตาลที่ให  โตนูเรีย (Phenylketonuria)  ไมสามารถใชแอสปารเทม  รางกาย  ไมกอใหเกิดฟนผุ  เนื่องจากแบคทีเรียในชองปาก
                  พลังงาน (Nutritive sweeteners) แตใหพลังงานนอยกวานํ้าตาลทราย คือ ประมาณ  1.5 - 3 กิโลแคลอรี/กรัม  ในขณะที่          ได เพราะแอสปารเทมมีกรดอะมิโนที่มีชื่อวา  ฟนิลอะลานีน   ไมสามารถยอยสารชนิดนี้ได  ไดรับความนิยมใชมากใน
                  นํ้าตาลซูโครส 1 กรัมใหพลังงาน 4 กิโลแคลอรี นํ้าตาลแอลกอฮอลโดยทั่วไปมีความหวานนอยกวานํ้าตาลซูโครส และถูกดูดซึม      (Phenylalanine) อยูดวย นอกจากนี้แอสปารเทมสลายตัว  ประเทศตะวันตก
                  ไดชากวานํ้าตาลซูโครส  ทําใหสวนหนึ่งถูกขับถายออกจากรางกายกอนที่จะถูกนําไปใช  สงผลตอระดับนํ้าตาลในเลือดนอยกวา   ไดดวยความรอน จึงไมเหมาะสมสําหรับอาหารที่ผานความ  •  สตีวีโอไซด (Stevioside)  ในหญาหวาน  มีความหวาน
                  นอกจากนี้ยังพบวาสารใหความหวานกลุมนี้จุลินทรียในชองปากนําไปใชไมได  จึงลดความเสี่ยงตอโรคฟนผุ  นิยมใชในอาหาร   รอนสูง                                          มากกวานํ้าตาลทราย 150 - 300 เทา ไมถูกดูดซึมในระบบ
                  ประเภท ลูกอม ทอฟฟ หมากฝรั่ง หรือแมแตผลิตภัณฑที่ใชในปาก เชน ยาสีฟน นํ้ายาบวนปาก นอกจากนี้นํ้าตาลแอลกอฮอล   •  ซูคราโลส (Sucralose) มีความหวานมากกวานํ้าตาลทราย   การยอย ใหพลังงานตํ่าประมาณ 0 – 3 กิโลแคลอรี  นิยม
                  ยังมีคุณสมบัติบางสวนที่คลายคลึงกับนํ้าตาลซูโครส  เชน  เพิ่มความหนืดใหอาหาร  ชวยใหอาหารละลายไดดีขึ้น  ชวยรักษา  320 - 1,000 เทา หรือกลาวโดยเฉลี่ย 600 เทา มีรสหวาน  บริโภคในในประเทศจีนและญี่ปุน
                                                                                                                                                                              อาจใช
                  ความชื้นในอาหาร ตัวอยางของสารกลุมนี้ เชน                                                                            ใกลเคียงกับนํ้าตาล  ไมมีรสขม  แตอาจมีรสเฝอนอาจใช
                                                                                                                                                                               าหาร
                                                                                                                                         ปริมาณมาก  ไมสามารถยอยไดในระบบทางเดินอาหาร
                                                                                                                                                                               มารถ
                                                                                                                                         ของมนุษย จึงไมใหพลังงาน ทนความรอนไดสูง จึงสามารถ
                                                                                                                                         ใชไดกับอาหารที่ผานความรอนได                                         หญาหวาน



                •  ซอรบิทอล (Sorbitol) และ แมนนิทอล (Mannitol) มี  •  ไอโซมอลท (Isomalt) มีความหวานรอยละ 50 ของนํ้าตาล
                  ความหวานรอยละ 60  ของนํ้าตาล  ใชเพิ่มรสหวานในลูก  มีการยอมรับและใชมากกวา 70 ประเทศทั่วโลก ประโยชน
                  กวาด แยม เจลลี่ หมากฝรั่ง                        หลัก ๆ  จะใชเปนองคประกอบในขนมหวานประเภทลูก
                •  อิริธิทอล (Erythritol) มีความหวานประมาณรอยละ 70   กวาด ช็อกโกแลต คุกกี้ เคก ไอศกรีม แยม หมากฝรั่ง
                  ของนํ้าตาล  ใชเพิ่มรสชาติหวานในหมากฝรั่งและเครื่องดื่ม  •  แลกทิทอล (Lactitol  หรือ Lactulose)  มีความหวาน            การทดลองใชสารใหความหวานแทนนํ้าตาลในขนมไทยพบวาในขนมไทยหลายชนิดสามารถใชสารใหความหวานทดแทนนํ้าตาล
                  บางประเภท                                        รอยละ 40 ของนํ้าตาล ถูกนํามาใชทางคลินิกเปนยาระบาย                ไดและเปนที่ยอมรับในการทดสอบทางประสาทสัมผัส โดยเฉพาะในขนมไทยที่มีการใชกะทิ เชน ขนมไทยประเภทแกงบวด ขนมกวน
                •  ไซลิทอล (Xylitol)  มีความหวานเทียบเทานํ้าตาล  คณะ  และชวยบําบัดอาการทองผูก  แตอาจทําใหมีอาการขาง              ขนมไทยประเภทตม เนื่องจากกะทิชวยใหเกิดรสหวานมันกลมกลอมและเนื้อสัมผัสที่นิ่มนวลขึ้น และชวยกลบเกลื่อนความหวานของ
                  กรรมการอาหารและยาบางประเทศของซีกโลกตะวันตกได    เคียง บางอยางเชน ทองอืด ทอง เสีย และเกิดตะคริว                  สารใหความหวานที่แตกตางจากรสหวานของนํ้าตาล หรือแมแตความหวานของซูคราโลสซื่งมีรสหวานที่ใกลเคียงกับนํ้าตาลซูโครส ผู
                  ขึ้นทะเบียนใหไซลิทอลเปนสารที่มีความหวานที่เหมาะกับ  •  มอลทิทอล (Maltitol) มีความหวานรอยละ 75 - 90 ของ            บริโภคบางคนสามารถบอกความแตกตางได ดังนั้นการใชสารใหความหวานทดแทนนํ้าตาลจึงตองพิจารณาเรื่องดังกลาวดวย ในทาง
                  ผูปวยเบาหวาน                                   นํ้าตาล ทางอุตสาหกรรมนํามาประกอบในลูกกวาด หมาก                      ปฏิบัติทั่วไปทางอุตสาหกรรม มักนิยมเลือกใชสารใหความหวานมากกวา 1 ชนิดผสมกัน เพื่อไมใหรสหวานของชนิดใดชนิดหนึ่งโดด
                                                                   ฝรั่ง ช็อกโกแลต คุกกี้ ไอศกรีม และถูกระบุวาเปนสารที่มี            เดนมากเกินไป  นอกจากนี้สิ่งที่จะตองพิจารณาประกอบดวย คือ สารใหความหวานทดแทนนํ้าตาลสวนใหญไมมีสมบัติในอาหารได
                                                                   ความหวานโดยไมทําใหเกิดฟนผุ                                       เชนเดียวกับนํ้าตาล เชน การชวยรักษาความชื้นของขนม หรือความฉํ่าของขนม หรือการใหสีนํ้าตาล หรือการชวยใหเนื้อขนมเกาะตัว

                                                                                                                                       เปนตน  เชน  การใชซูคราโลสทดแทนนํ้าตาลปบในขนมหมอแกง  พบวาขนมหมอแกงมีลักษณะยุบตัวเล็กนอย  เนื้อไมแนน  ไมฉํ่า
                  นํ้าตาลแอลกอฮอลพบไดในผัก ผลไมบางชนิด แตสวนใหญเปนการผลิตทางอุตสาหกรรม การไดรับนํ้าตาลแอลกอฮอลมาก ๆ           เทากับขนมหมอแกงที่ใชนํ้าตาลปบ  แตเมื่อนําไปทดสอบกับผูบริโภคทั่วไป  พบวาผูบริโภคยอมรับระดับดี  ไมติดใจกับลักษณะของ
                ในปริมาณมากกวา 50 กรัม/วัน อาจทําใหเกิดอาการทองเสียได                                                              ขนมที่อาจแตกตางไปบาง แตใหความสนใจกับขนมไทยที่ใหพลังงานตํ่า (ทัศนียและคณะ, 2551)

                                                             72                                                                                                                     73


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                               สารพันขนมไทย
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79