Page 44 -
P. 44
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
à¤Ã×èͧ»ÃاÃÊà¤çÁ 2. ¹íéÒ»ÅÒ
นํ้าปลา (Fish sauce) เปนเครื่องปรุงรสที่ขึ้นชื่อของไทย แบงออกเปน 3 ประเภท
เกลือและนํ้าปลาเปนเครื่องปรุงรสเค็มสําคัญ ๆ ที่มีมาแตดั้งเดิม เกลือเปนสารปรุงรสที่นิยมใชทั่วโลก และสามารถนําไปใชในการ
ผลิตเครื่องปรุงรสชนิดอื่นจํานวนมากมาย สําหรับประเทศไทยซึ่งมีความผูกพันกับสายนํ้า อาศัยแหลงนํ้าเพื่อการบริโภคและอุปโภค
และมีการนําสัตวนํ้าเปนอาหารและนํามาแปรรูปเปนอาหารพื้นบานหลากหลายชนิดรวมทั้งนํ้าปลา และเครื่องปรุงรสเค็มอื่น ๆ เชน
กะป นํ้าบูดู นอกจากนี้มีเครื่องปรุงรสเค็มที่ไดรับอิทธิพลจากชนชาติอื่นจํานวนมากขึ้น
1. à¡Å×Í
เปนสารปรุงรสเกาแกที่นิยมใชทั่วโลก และใชในการถนอมอาหารหลายชนิด เชน การทําปลาเค็ม เนื้อเค็ม ผักกาดดอง เปนตน ใน
อดีตเกลือมีคามากพอ ๆ กับทองคํา ชาวยุโรปในสมัยโบราณตีคาทาสเปนปริมาณของเกลือ
เกลือที่ใช ปรุงอาหาร (Table salt) ประกอบดวยโซเดียมคลอ การกระตุนตอมรับรสบนลิ้น ทําใหรูสึกวามีรสเค็ม
ไรด (Sodium chloride) มีผลึกสีขาว มีรสเค็ม ละลายนํ้าไดดี เกลือที่ใชในการปรุงอาหารไดมาจากหลายแหลง ในที่นี้ขอ
ดูดความชื้นไดดี เมื่อละลายนํ้า จะเกิดการแตกตัวใหอิออนของ เนนเฉพาะที่มีมากในประเทศไทย ดังนี้
โซเดียม และ อิออน ของคลอไรด โดยอิออนโซเดียมมีบทบาทใน • นํ้าปลาแท • นํ้าปลาวิทยาศาสตร • นํ้าปลาผสม
เปนนํ้าปลาที่ไดจากการหมักปลาหรือ เปนนํ้าปลาที่ไดจากการหมักปลาหรือ เปนนํ้าปลาที่ไดจากการนํานํ้าปลาแท
สวนของปลากับเกลือในอัตราสวน สวนของปลากับกรดเกลือตามกรรม และนํ้าปลาวิทยาศาสตร มาผสมกัน
2:1 โดยการเคลาปลากับเกลือใหทั่ว วิธีไฮโดรไลซิส หรือกรรมวิธีอื่นทาง โดยไมมีสิ่งอื่นที่เปนอันตรายตอผู
นําไปหมักในโองหรือถังไม นาน วิทยาศาสตร เพื่อชวยใหการยอย บริโภคมาเจือปน โดยทั่วไปนํ้าปลา
ประมาณ 1-2 ป ปลาที่นิยมใชกัน คือ สลายปลาเร็วขึ้น แทจัดวามีคุณภาพดีกวานํ้าปลาชนิด
ปลาไสตัน ปลาสรอย และปลาหัวออน อื่น การใชนํ้าปลาที่มีคุณภาพดีใน
และปลอยใหเกิดการยอยสลายสวน การประกอบอาหารยอมสงเสริมให
ประกอบของปลาดวยเอนไซมและ อาหารที่ปรุงนั้นมีรสชาติดีดวย
จุลินทรียตามธรรมชาติในปลา คุณภาพ
การทํานาเกลือสมุทร จังหวัดเพชรบุรี การผลิตเกลือภูเขา อ.บอเกลือ จังหวัดนาน
ของนํ้าปลาแทแบงเปน 2 ระดับตาม
• เกลือสมุทร (Solar salt) เปนเกลือที่ไดจากการทํานาเกลือ • เกลือสินเธาว (Rock salt) เปนเกลือที่ไดจากผลึกเกลือที่ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม คือ ลักษณะของนํ้าปลาที่ดี
จากนํ้าทะเล โดยปลอยใหนํ้าทะเลไหลเขานา แลวกักไว ปลอย จับตัวเปนกอนเกลือขนาดใหญตามธรรมชาติ การทําเหมือง ชั้นคุณภาพ 1 และ 2 โดยพิจารณาจาก 1) ใส มีสีและกลิ่นหอมตามธรรมชาติ
ใหแสงแดดระเหยนํ้าจนความเขมขนไดที่ เกลือจะตกผลึก เกลือ เกลือใชวิธีการสกัดผลึกเกลือออกมาดวยการละลายนํ้า มี ปริมาณไนโตรเจน โดย นํ้าปลาคุณภาพ ผลิตจากปลาหมักกับเกลือ ไมมีสวน
ที่ไดเรียก เกลือสมุทร การผลิตจํานวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเปนที่ ชั้น 1 มีปริมาณไนโตรเจน ไมนอย ผสมของสารอื่น ปราศจากตะกอน
นิยมบริโภคของชาวอีสาน กวา 20 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตรและ และสารกันบูด
มีปริมาณไนโตรเจนจากกรดอะมิโน ไม 2) เก็บไดทุกอุณหภูมิ โดยไมเนาเสีย
ในประเทศไทยกําหนดใหเกลือที่ใชปรุงแตงรสอาหาร หรือ ที่เรียกวา “เกลือบริโภค” (Table salt) ที่บรรจุในภาชนะพรอม นอยกวา 10 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร 3) ภาชนะบรรจุสะอาด ปดสนิท ไมผุ
จําหนายโดยตรงตอผูบริโภค ตองมีไอโอดีนไมนอยกวา 30 มิลลิกรัม/เกลือบริโภค 1 กิโลกรัม (ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข สวนนํ้าปลาคุณภาพ ชั้น 2 มีปริมาณ กรอน รั่ว หรือซึม
ฉบับที่153 พ.ศ. 2537) เพื่อปองกันปญหาโรคคอพอกในประชากรชาวไทย โดยสารที่ใชเสริมไอโอดีนมีหลายชนิด เชน โซเดียมไอโอ ไนโตรเจนนอยกวา คือ มีปริมาณ 4) ฉลากระบุรายละเอียด สวนประกอบ
ไดด (NaI) โพแทสเซียมไอโอไดด (KI) และโพแทสเซียมไอโอเดต (KIO ) โดยโพแทสเซียมไอโอเดตมีความคงตัวมากกวาสองชนิดแรก
3 ไนโตรเจนไมนอยกวา 15 และปริมาณ ชนิด หรือชั้นคุณภาพ สถานที่ผลิต
เกลือสมุทรและเกลือสินเธาวเปนชนิดของเกลือที่มีแพรหลายในประเทศไทย ในสถานบริการอาหารบางแหงอาจมีการนําเกลือ ไนโตรเจนจากกรดอะมิโนไมนอยกวา ปริมาณ พรอมเลขสารระบบ ตามที่
จากตางประเทศมาสรางความนาสนใจบนโตะอาหาร เชน การใชเกลือจากทะเลสาบนํ้าเค็ม (Salt Lake) เกลือจากเทือกเขาหิมาลัย 7.5 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร กําหนดของสํานักงานคณะกรรมการ
เปนตน อาหารและยา
42 43
อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา เครื่องปรุงรสอาหารแบบไทยๆ