Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                                                   à¤Ã×èͧ»ÃاÃÊà¤çÁ                                                                                                            2. ¹íéÒ»ÅÒ


                                                                                                                                                        นํ้าปลา (Fish sauce) เปนเครื่องปรุงรสที่ขึ้นชื่อของไทย  แบงออกเปน 3 ประเภท
                  เกลือและนํ้าปลาเปนเครื่องปรุงรสเค็มสําคัญ ๆ ที่มีมาแตดั้งเดิม เกลือเปนสารปรุงรสที่นิยมใชทั่วโลก และสามารถนําไปใชในการ
                ผลิตเครื่องปรุงรสชนิดอื่นจํานวนมากมาย  สําหรับประเทศไทยซึ่งมีความผูกพันกับสายนํ้า อาศัยแหลงนํ้าเพื่อการบริโภคและอุปโภค
                และมีการนําสัตวนํ้าเปนอาหารและนํามาแปรรูปเปนอาหารพื้นบานหลากหลายชนิดรวมทั้งนํ้าปลา และเครื่องปรุงรสเค็มอื่น ๆ เชน
                กะป นํ้าบูดู  นอกจากนี้มีเครื่องปรุงรสเค็มที่ไดรับอิทธิพลจากชนชาติอื่นจํานวนมากขึ้น
                                                          1. à¡Å×Í


                  เปนสารปรุงรสเกาแกที่นิยมใชทั่วโลก และใชในการถนอมอาหารหลายชนิด เชน การทําปลาเค็ม เนื้อเค็ม ผักกาดดอง เปนตน ใน
                อดีตเกลือมีคามากพอ ๆ กับทองคํา  ชาวยุโรปในสมัยโบราณตีคาทาสเปนปริมาณของเกลือ
                  เกลือที่ใช ปรุงอาหาร (Table salt) ประกอบดวยโซเดียมคลอ การกระตุนตอมรับรสบนลิ้น ทําใหรูสึกวามีรสเค็ม
                ไรด (Sodium chloride) มีผลึกสีขาว มีรสเค็ม ละลายนํ้าไดดี     เกลือที่ใชในการปรุงอาหารไดมาจากหลายแหลง  ในที่นี้ขอ
                ดูดความชื้นไดดี  เมื่อละลายนํ้า  จะเกิดการแตกตัวใหอิออนของ เนนเฉพาะที่มีมากในประเทศไทย ดังนี้
                โซเดียม และ  อิออน ของคลอไรด โดยอิออนโซเดียมมีบทบาทใน                                                                 •  นํ้าปลาแท                   •  นํ้าปลาวิทยาศาสตร          •  นํ้าปลาผสม
                                                                                                                                         เปนนํ้าปลาที่ไดจากการหมักปลาหรือ   เปนนํ้าปลาที่ไดจากการหมักปลาหรือ    เปนนํ้าปลาที่ไดจากการนํานํ้าปลาแท
                                                                                                                                         สวนของปลากับเกลือในอัตราสวน   สวนของปลากับกรดเกลือตามกรรม    และนํ้าปลาวิทยาศาสตร  มาผสมกัน
                                                                                                                                         2:1  โดยการเคลาปลากับเกลือใหทั่ว   วิธีไฮโดรไลซิส  หรือกรรมวิธีอื่นทาง  โดยไมมีสิ่งอื่นที่เปนอันตรายตอผู
                                                                                                                                         นําไปหมักในโองหรือถังไม  นาน  วิทยาศาสตร  เพื่อชวยใหการยอย  บริโภคมาเจือปน  โดยทั่วไปนํ้าปลา
                                                                                                                                         ประมาณ 1-2 ป ปลาที่นิยมใชกัน คือ   สลายปลาเร็วขึ้น            แทจัดวามีคุณภาพดีกวานํ้าปลาชนิด
                                                                                                                                         ปลาไสตัน ปลาสรอย และปลาหัวออน                                อื่น  การใชนํ้าปลาที่มีคุณภาพดีใน
                                                                                                                                         และปลอยใหเกิดการยอยสลายสวน                                  การประกอบอาหารยอมสงเสริมให
                                                                                                                                         ประกอบของปลาดวยเอนไซมและ                                      อาหารที่ปรุงนั้นมีรสชาติดีดวย
                                                                                                                                         จุลินทรียตามธรรมชาติในปลา คุณภาพ
                การทํานาเกลือสมุทร จังหวัดเพชรบุรี             การผลิตเกลือภูเขา อ.บอเกลือ จังหวัดนาน
                                                                                                                                         ของนํ้าปลาแทแบงเปน 2  ระดับตาม
                •  เกลือสมุทร (Solar salt)  เปนเกลือที่ไดจากการทํานาเกลือ •  เกลือสินเธาว (Rock salt)  เปนเกลือที่ไดจากผลึกเกลือที่  มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม  คือ   ลักษณะของนํ้าปลาที่ดี
                จากนํ้าทะเล โดยปลอยใหนํ้าทะเลไหลเขานา  แลวกักไว ปลอย  จับตัวเปนกอนเกลือขนาดใหญตามธรรมชาติ  การทําเหมือง         ชั้นคุณภาพ 1 และ 2 โดยพิจารณาจาก  1) ใส  มีสีและกลิ่นหอมตามธรรมชาติ
                ใหแสงแดดระเหยนํ้าจนความเขมขนไดที่ เกลือจะตกผลึก เกลือ  เกลือใชวิธีการสกัดผลึกเกลือออกมาดวยการละลายนํ้า  มี         ปริมาณไนโตรเจน โดย นํ้าปลาคุณภาพ   ผลิตจากปลาหมักกับเกลือ  ไมมีสวน
                ที่ไดเรียก เกลือสมุทร                            การผลิตจํานวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเปนที่                      ชั้น 1  มีปริมาณไนโตรเจน  ไมนอย  ผสมของสารอื่น  ปราศจากตะกอน
                                                                  นิยมบริโภคของชาวอีสาน                                                  กวา 20 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตรและ  และสารกันบูด
                                                                                                                                         มีปริมาณไนโตรเจนจากกรดอะมิโน ไม  2) เก็บไดทุกอุณหภูมิ โดยไมเนาเสีย
                  ในประเทศไทยกําหนดใหเกลือที่ใชปรุงแตงรสอาหาร  หรือ  ที่เรียกวา “เกลือบริโภค” (Table salt)  ที่บรรจุในภาชนะพรอม     นอยกวา 10 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร   3) ภาชนะบรรจุสะอาด  ปดสนิท  ไมผุ
                จําหนายโดยตรงตอผูบริโภค  ตองมีไอโอดีนไมนอยกวา 30  มิลลิกรัม/เกลือบริโภค 1  กิโลกรัม (ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข    สวนนํ้าปลาคุณภาพ ชั้น 2  มีปริมาณ  กรอน รั่ว หรือซึม
                ฉบับที่153 พ.ศ. 2537) เพื่อปองกันปญหาโรคคอพอกในประชากรชาวไทย  โดยสารที่ใชเสริมไอโอดีนมีหลายชนิด เชน โซเดียมไอโอ      ไนโตรเจนนอยกวา  คือ  มีปริมาณ 4) ฉลากระบุรายละเอียด  สวนประกอบ
                ไดด (NaI) โพแทสเซียมไอโอไดด (KI) และโพแทสเซียมไอโอเดต (KIO ) โดยโพแทสเซียมไอโอเดตมีความคงตัวมากกวาสองชนิดแรก
                                                                3                                                                        ไนโตรเจนไมนอยกวา 15 และปริมาณ  ชนิด  หรือชั้นคุณภาพ  สถานที่ผลิต
                  เกลือสมุทรและเกลือสินเธาวเปนชนิดของเกลือที่มีแพรหลายในประเทศไทย  ในสถานบริการอาหารบางแหงอาจมีการนําเกลือ           ไนโตรเจนจากกรดอะมิโนไมนอยกวา   ปริมาณ  พรอมเลขสารระบบ  ตามที่
                จากตางประเทศมาสรางความนาสนใจบนโตะอาหาร เชน การใชเกลือจากทะเลสาบนํ้าเค็ม (Salt Lake) เกลือจากเทือกเขาหิมาลัย        7.5 กรัมตอลูกบาศกเดซิเมตร     กําหนดของสํานักงานคณะกรรมการ
                เปนตน                                                                                                                                                  อาหารและยา
                                                             42                                                                                                                     43


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                            เครื่องปรุงรสอาหารแบบไทยๆ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48