Page 62 -
P. 62
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เปลี ยนแปลงทางโครงสร้างราคาที ได้ จึงชี ให้เห็นเพียงว่าค่าเฉลี ยและแนวโน้มเวลาของราคาพืชเศรษฐกิจ
ก่อนและหลังช่วงเวลาดังกล่าวแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ฉะนั น อาจเป็นไปได้ที สาเหตุที ทําให้
เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาจะเกิดขึ นก่อนหรือหลังช่วงเวลาที ประมาณการได้ การทบทวน
เหตุการณ์ต่าง ๆ จึงคํานึงถึงเหตุการณ์ที เกิดขึ นในช่วงเวลาใกล้เคียง ทั งก่อนและหลัง ช่วงเวลาที ประมาณการ
ได้ อาทิ
ในการวิเคราะห์เชื อมโยงหาเหตุการณ์หรือปัจจัยที อาจจะเป็นสาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลง
ทางโครงสร้างราคาพืชเศรษฐกิจตามช่วงเวลาที ประมาณการได้ในบทก่อนหน้า คณะวิจัยจึงทําการวิเคราะห์
โดยพุ่งประเด็นไปที ภัยพิบัติทางธรรมชาติก่อนเป็นอันดับแรก ซึ งลําดับขั นตอนของการวิเคราะห์ เป็น
ดังต่อไปนี
1. พิจารณาว่า ณ ช่วงเวลาที ประมาณการว่าน่าจะมีการเปลี ยนแปลงทางโครงสร้างราคาเกิดขึ นนั น
ราคาสินค้าเกษตรและ/หรือปริมาณผลผลิต มีลักษณะอย่างไร
2. ในช่วงเวลาที ประมาณการได้นั น หากราคาสินค้าเกษตรเพิ มสูงขึ น ในขณะเดียวกัน ผลผลิต
หรืออุปทานภายในประเทศก็ลดลงด้วย ปัจจัยที น่าจะเป็นสาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลง
โครงสร้างราคาในช่วงเวลาดังกล่าว คือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติที เกิดขึ นในประเทศไทย
3. หากในช่วงเวลาที ประมาณการได้นั น ราคาและปริมาณผลผลิตภายในประเทศไม่ได้เป็นไปตาม
เงื อนไขข้างต้น สาเหตุที ทําให้เกิดการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาในช่วงเวลาดังกล่าวน่าจะ
เป็นประเด็นอื นที ไม่ใช่ภัยพิบัติทางธรรมชาติที เกิดขึ นในประเทศไทย ให้พิจารณาหาสาเหตุ
ของการเปลี ยนแปลงโครงสร้างราคาจากปัจจัยอื น ๆ ตามที ได้ทบทวนวรรณกรรมโครงสร้าง
ราคาสินค้าเกษตรและตามความคิดเห็นของผู้เชี ยวชาญ
ข้าว
ข้อมูลที ใช้ในการพิจารณา ประกอบด้วย ราคาข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิ 105 ที เกษตรกรขายได้ที ไร่นา
รายเดือน (บาท/ตัน) เนื องจากข้อจํากัดในการเข้าถึงข้อมูลปริมาณผลผลิตข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิ 105 ราย
เดือนในอดีต จึงพิจารณาปริมาณผลผลิตข้าวนาปีทั งประเทศรายเดือน (ล้านตัน) และปริมาณส่งอออกข้าวเจ้า
ขาวหอมมะลิไทย 100% ชั น 1 รายเดือน (ล้านกิโลกรัม) แทน (รูปที 4.1) ราคาข้าวขาวในตลาดโลกรายเดือน
(ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน) นอกจากนี ยังพิจารณาอัตราการเติบโตของรายได้ประชาชาติโลกรายปี (%) และมูลค่า
การส่งออกข้าวของไทยรายปี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ประกอบด้วย (รูปที 4.2) ตลอดจนความคิดเห็นของ
ผู้เชี ยวชาญและเหตุการณ์ต่าง ๆ ที อาจนําไปสู่การเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคา
จากผลการศึกษาในบทที 3 พบช่วงเวลาที น่าจะเกิดการเปลี ยนแปลงในโครงสร้างราคาข้าวเปลือก
เจ้าหอมมะลิ 105 ประกอบด้วย ช่วงเดือนพฤษภาคม 2533 เดือนมีนาคม 2540 เดือนมีนาคม 2546 และเดือน
กุมภาพันธ์ 2551 สําหรับช่วงเดือนพฤษภาคม 2533 จากรูปที 4.1 พบว่าราคาในช่วงเวลาดังกล่าวลดลง แม้
ไม่สามารถพิจารณาข้อมูลผลผลิตซึ งเป็นปัจจัยทางด้านอุปทานได้เนื องจากความจํากัดของข้อมูล แต่หากภัย
4-10