Page 18 -
P. 18
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
6
ภายในประเทศมีเพียง 50 เปอรเซ็นตของความตองการบริโภคภายในประเทศ กอใหเกิดความรวมมือกันของ
หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนกระทรวงเกษตรและสหกรณ (กรมปศุสัตว) กระทรวงพาณิชย
กระทรวงอุตสาหกรรม สหกรณผูเลี้ยงโคนมมหาวิทยาลัย และสถาบันทางวิชาการตางๆ และหนวยงานที่ทํา
การวิจัย สนับสนุนการวิจัย ไดดําเนินการเพื่อพัฒนาการเลี้ยงโคนมในประเทศใหสามารถแขงขันและอยูรอดได
ในตลาดโลก
2.1.2 แนวทางการทํางานเพื่อพัฒนาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย (สถาบันพัฒนาฝกอบรมและวิจัยโคนม
แหงชาติเชียงใหม, 2548)
1. ฝูงโคทดแทนที่มีคุณภาพดี
2. คัดแมโคนมคุณภาพต่ําออกจากฝูง
3. โครงการผลิตอาหารหยาบ (ขาวโพดหมัก) ที่มีคุณภาพ
4. อาหารผสมสําเร็จ (TMR: Total Mixed Ration)
5. โรงงานนมผง
การปรับปรุงพันธุโคนมในประเทศไทย มีการพัฒนาดานพันธุโคนมที่มีพื้นฐานมาจากการผสมขามพันธุ
แบบยกระดับสายเลือด โคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชียน และพันธุผสมโฮลสไตนฟรีเชียน เปนโคนมที่นําเขามา
ทดลองเลี้ยงในป 2505 และเปนโคนมที่เหมาะสมในการสงเสริมใหมีการเลี้ยงในประเทศไทย เพราะเปนสาย
พันธุที่มีการปรับตัวไดดีกับทุกสภาพในประเทศ และเปนโคพันธุนมที่มีการใหผลผลิตน้ํานมที่มีคุณภาพและได
นมที่มีปริมาณมาก
2.1.3 โคนมแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ
1. พันธุโคนมที่มีถิ่นกําเนิดในแถบรอน เชน พันธุเรดซินดี้ ซาฮิวาล เปนตน สังเกตไดคือโคนมพวกนี้จะ
มีโหนกหลังใหญและทนรอนไดดี แตใหนมไดไมมากนัก
2. พันธุโคนมที่มีถิ่นกําเนิดในเขตหนาวหรือเรียกวาโคยุโรป มีอยูดวยกันหลายพันธุ ซึ่งโคยุโรปนี้จะ
สังเกตไดงาย คือ ไมมีโหนกที่หลัง จะเห็นแนวสันหลังตรง มักไมคอยทนตออากาศรอน พันธุที่สําคัญไดแก ขาว
ดําหรือโฮลสไตนฟรีเชี่ยน โคนมพันธุโฮลสไตนฟรีเชี่ยนมีถิ่นกําเนิดในประเทศฮอลแลนด เปนพันธุที่ไดรับความ
นิยมเลี้ยงกันมากเพราะใหน้ํานมมาก มีสีดําตัดขาว รูปรางใหญโต ตัวผูหนัก 800-1,000 กิโลกรัม ตัวเมียหนัก
600-700 กิโลกรัม โคพันธุนี้ชอบอากาศหนาว แตในประเทศตางๆ ที่มีอากาศรอนอุณหภูมิไมต่ํากวา 22 องศา
เซลเซียส จะเลี้ยงลูกผสมที่มีเลือดโคพันธุโฮลสไตนฟรีเชียน อยูระหวาง 50-70 เปอรเซ็นต จึงจะพอเหมาะซึ่ง
ลูกผสมระดับสายเลือดนี้จะใหผลผลิตน้ํานมเฉลี่ยปละประมาณ 1,800-2,200 กิโลกรัม
2.1.4 ลักษณะโคนมที่พึงประสงค
วิเชียร (2544) การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุโคนมสวนใหญจะเนนถึงลักษณะทางเศรษฐกิจ หรือ
ลักษณะทางสรีรวิทยาที่เกี่ยวของกับการใหผลผลิต เชน ปริมาณน้ํา นมสวนประกอบของน้ํานมเปนตน
ปริมาณน้ํานม (Milk Yield) ปริมาณน้ํานมเปนลักษณะทางพันธุกรรมที่สําคัญที่สุด ปกติจะวัดเปน
ปริมาณน้ํานมที่โคผลิตตอระยะการใหนม (Kg / Lactation) โคจะใหนมมากนอยขึ้นกับปจจัยหลายอยาง เชน
อาหาร ระยะการใหนม (Length of Lactation) จํานวนครั้งในการรีดนมตอวัน อายุของโค และสภาพของ
อากาศ โคนมมักใหนมนอยกวาความสามารถทางพันธุกรรม สาเหตุหลักเนื่องจากการจัดการดานอาหารไมดี
พอ และสภาพอากาศรอน มีโรคและแมลงมาก