Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                         1

                                                         บทที่ 1

                                                         บทนํา


               1.1 ที่มาและความสําคัญ
                       สหกรณเปนองคกรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อแกไขความเดือดรอนในการประกอบอาชีพและยกชวยฐานะความ

               เปนอยูของสมาชิก สหกรณเปนองคกรธุรกิจที่มีลักษณะที่แตกตางจากธุรกิจอื่น โดยในปจจุบันสหกรณมี 7
               ประเภท คือ สหกรณการเกษตร สหกรณนิคม สหกรณการประมง สหกรณออมทรัพย สหกรณรานคา สหกรณ
               บริการและสหกรณเครดิตยูเนี่ยน (ภมรมาศ จิตอําพร, 2552) ในสวนของสหกรณการเกษตรนั้น สหกรณโคนม
               จัดเปนสหกรณการเกษตรรูปแบบพิเศษที่จัดตั้งขึ้นตามกลุมอาชีพของกลุมผูเลี้ยงสัตว เพื่อมุงเนนใหเกิดการ
               รวมมือกันในการดําเนินกิจกรรมการชวยเหลือซึ่งกันและกันในการแกไขปญหาความเดือดรอนของการ

               ประกอบอาชีพ โดยจากขอมูลของกรมสงเสริมสหกรณ (2558) ระบุวาในปจจุบันจํานวนของสหกรณโคนมที่มี
               การแปรรูปน้ํานมดิบมีจํานวนทั้งสิ้น 111 สหกรณ ซึ่งเปนสหกรณที่ตั้งอยูในภาคกลางสูงถึง 35 สหกรณ และ
               ยิ่งไปกวานั้นภาคกลางของประเทศไทยสามารถผลิตน้ํานมดิบไดสูงที่สุดในประเทศ จากขอมูลของสํานักงาน

               เศรษฐกิจการเกษตร (2558) ระบุวาภาคกลางสามารถผลิตน้ํานมดิบไดมากกวา 701,186 ตัน ในไตรมาศที่สอง
               ของป 2558
                       ทั้งนี้จากการศึกษาของ เกษตร วิทยานุภาพยืนยง (2531) พบวา ฟารมโคนมสวนใหญยังขาดระบบ
               การจัดการของเสียจากฟารม แตการลงทุนในการจัดการบําบัดของเสียจากฟารมเลี้ยงโคนมซึ่งสวนใหญเปน

               ฟารมขนาดเล็กมีจํานวนโคนมเพียง 10-40 ตัวตอฟารม ยอมเปนการลงทุนที่แพงเกินไปสําหรับเกษตรกร อีก
               ทั้ง ชาญวิทย กุลทรัพยศักดิ์ (2553) พบวา การจัดตั้งสหกรณและโรงงานผลิตนมจํานวนมากในประเทศไทยนั้น
               สงผลใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตามมาอยางมาก เนื่องจากการแปรรูปนมนั้นมีการปลอยมลพิษออกสู
               สิ่งแวดลอมที่มาจากการใชทรัพยากรในการผลิตสูง สงผลใหเกิดผลกระทบทั้งทางน้ํา ดิน และ อากาศ ซึ่ง

               ผลเสียตอระบบนิเวศ สัตวน้ํา มนุษยและสิ่งแวดลอมรอบขาง จึงทําใหการลงทุนเพื่อการจัดการสิ่งแวดลอมของ
               สหกรณโคนมจึงเปนอีกหนึ่งตนทุนที่สําคัญอยางหนึ่งที่ตองลงทุน ดังนั้นประเด็นปญหาทางสิ่งแวดลอมของ
               ตลอดหวงโซอุปทานของสหกรณโคนมนั้นเปนประเด็นที่สําคัญและสงผลกระทบโดยตอการลงทุนซึ่งเปนตนทุน
               สําคัญในการผลิต

                       แตอยางไรก็ตามการบริหารจัดการธุรกิจโคนมใหมีความมั่นคง สามารถแขงขับกับธุรกิจอื่น ๆ ไดเปน
               องคกรที่อยูรอดในภาวะเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเปนที่พึ่งแกสมาชิกสหกรณไดอยางยั่งยืนและทําใหสหกรณ
               ประสบความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจนั้นจําเปนตองอาศัยปจจัยตาง ๆ เพื่อผลักดันใหเกิดผลสําเร็จ โดยปจจัย

               สําคัญอยางหนึ่ง คือ ความสามารถในการบริหารจัดการในการดําเนินธุรกิจของสหกรณไดอยางมีประสิทธิภาพ
               และลดตนทุน ทั้งนี้เมื่อพิจารณาแนวโนมตั้งแตป พ.ศ. 2550 ที่ผานมาแสดงใหเห็นวา ผลผลิตน้ํานมดิบที่ผลิต
               ไดทั้งหมดถูกนําสงเขาโรงงานไปแปรรูปเปนนมพรอมดื่ม และคาดวาจํานวนโคนมและปริมาณน้ํานมดิบจะ
               ลดลง ซึ่งเกษตรกรบางสวนเลิกเลี้ยงและแมโคนมถูกขายเขาโรงฆาสัตว เนื่องจากเกษตรกรไมสามารถรับภาระ
               กระตุนที่เพิ่มขึ้นไดและคาดวาตนทุนการผลิตน้ํานมดิบมีน้ํานมดิบมีแนวโนมสูงขึ้น (ภมรมาศ จิตอําพร, 2552)

               ดังนั้นจึงควรมีการพัฒนาแนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานของสหกรณโคนมทั้งระบบตั้งแต
               ระบบการเลี้ยงในฟารมจนถึงการแปรรูปน้ํานมดิบ โดยเฉพาะตนทุนของการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อเพิ่มโอกาส
               และชองทางในการแขงขันใหกับเกษตรกรที่สมาชิกสหกรณใหสามารถดําเนินกิจการไดอยางมั่นคงและยั่งยืน

                       ผลิตภาพสีเขียว (Green Productivity) ไดถูกพัฒนาโดย Asian Productivity Organization (APO)
               เปนกลยุทธในการเพิ่มผลผลิตและการดําเนินการดานสิ่งแวดลอมควบคูกัน เปนการนําเทคโนโลยีและการ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18