Page 20 -
P. 20

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         8


               ของระยะหยุดรีดนมกระทั่ง 8 สัปดาห ระยะหยุดรีดนมที่มากกวา 8 สัปดาหจะไมมีผลทําใหปริมาณผลผลิต
               น้ํานมเพิ่มสูงขึ้นไปอีก

                       อาหารและการจัดการ (Food and Management) ปริมาณน้ํานมที่โคผลิตจะผันแปรอยางมากจาก
               อิทธิพลของอาหารและการจัดการ ซึ่งแนนอนวาโคที่ไดรับอาหารที่ดี มีคุณภาพ ยอมตองใหน้ํานมมาก การ
               จัดการ เชน โรงเรือน การปรับอุณหภูมิในโรงเรือน ตารางการปฏิบัติตอโคนมลวนแลวแตมีอิทธิพลตอประมาณ
               น้ํานมที่โคผลิต

                       ฤดูกาลคลอด (Calving Season) โคที่คลอดในชวงฤดูแลงในขณะที่ขาดแคลนอาหารสัตวโดยเฉพาะ
               อาหารหยาบจะใหปริมาณน้ํานมนอยกวาโคที่คลอดในชวงฤดูฝนในขณะที่หญาเจริญเติบโตไดดี การวางแผน
               ผสมพันธุใหโคคลอดในชวงตนฤดูฝน โคจะไดรับอาหารเต็มที่ และเปนผลใหโคไดนมมากดวย
                       จํานวนครั้งที่รีดนมตอวัน (Number of Milking per Day) โคที่ถูกรีดนม 3 หรือ 4 ครั้ง จะใหน้ํานม

               มากกวาโคที่ไดรับการรีดนม 2 ครั้งตอวัน อยางไรก็ตามการรีดนมหลายๆ ครั้งทําใหเปลืองเวลา ปกติจะรีด
               เพียงวันละ 2 ครั้งตอวัน


               2.1.6 การเลี้ยงโครุน – โคสาว
                       เมื่อลูกโคอายุได 4 เดือน ระบบการยอยไดพัฒนาดีขึ้น ในชวงนี้อัตราการตายจะต่ํา หรืออาจจะกลาว
               ไดวาพนชวงระยะอันตรายแลว จากระยะนี้ถึงระยะโครุน คืออายุประมาณ 108-205 วัน (น้ําหนักประมาณ
               120-150 กิโลกรัม) ระยะนี้โคจะสามารถกินหญาไดดีแลว จากนั้นก็จะถึงระยะการเปนโคสาว (น้ําหนัก

               ประมาณ 200-250 กิโลกรัม) ตอไปก็จะถึงระยะเกณฑผสมพันธุคือ อายุไดประมาณ 18-22 เดือน (น้ําหนัก
               ประมาณ 250 กิโลกรัม หรือประมาณ 60-70 เปอรเซ็นตของน้ําหนักเมื่อโตเต็มที่) ในชวงดังกลาวนี้โคจะเจริญ
               อยางรวดเร็ว ควรเพิ่มอาหารผสมใหบางวันละ 1-2 กิโลกรัม และใหหญากินเต็มที่ ในกรณีที่เลี้ยงแบบปลอยลง
               ในแปลงหญาก็จะเปนการดียิ่งขึ้น เพราะโคไดออกกําลังกาย และยังเปนการชวยประหยัดคาใชจายและแรงงาน

               ไดมากอีกดวย แตอยางไรก็ตามในการใหอาหารผสม (อาหารขน) แกโครุน-โคสาว ในปริมาณมากนอยเทาใด
               นั้นใหพิจารณาถึงคุณภาพของหญาที่มีอยูในขณะนั้นเปนสําคัญ


               2.1.7 การเลี้ยงและดูแลโครีดนม
                       แมโคจะใหนมหรือมีน้ํานมใหรีดก็ตอเมื่อหลังจากคลอดลูกในแตละครั้ง ซึ่งจะใหนมเปนระยะยาว สั้น
               มาก นอย ตางกัน ขึ้นอยูกับความสามารถของแมโคแตละตัว พันธุและปจจัยอื่นๆ อีก แตโดยทั่วไปจะรีดนมได
               ประมาณ 5-10 เดือน นมน้ําเหลืองควรจะรีดใหลูกโคกินจนหมด ไมควรนําสงเขาโรงงานเปนอันขาด เพราะลูก
               โคจะตองกินเพื่อสรางภูมิคุมกันใหกับตัวเอง และควรใหอาหารแกโคนมอยางเพียงพอเพื่อแมโคจะไดไปสราง

               น้ํานมและเสริมสรางรางกายสวนอื่นๆ ที่ยังไมสมบูรณไดอยางเพียงพอ ภายหลังจากคลอดลูกโดยเฉลี่ยแลว
               ประมาณ 30-70 วัน หลังจากคลอดมดลูกจะเริ่มกลับเขาสูสภาพปกติ แมโคจะเริ่มเปนสัดอีกเมื่อแมโคแสดง
               อาการเปนสัดภายหลังคลอดนอยกวา 25 วันยังไมควรใหผสม เพราะมดลูกและอวัยวะตางๆ ในระบบสืบพันธุ

               เพิ่งฟนตัวใหมๆ ยังไมเขาสูสภาพปกติ ในทางปฏิบัติสวนใหญควรจะรอใหเปนสัดครั้งที่ 2 เกิดขึ้นจึงคอยผสมซึ่ง
               โดยเฉลี่ยแลวจะใชเวลาประมาณ 45-72 วันหลังจากคลอด

               2.1.8 การเปนสัดคืออะไร

                       การเปนสัด คือ การที่สัตวตัวเมียยอมใหผสมพันธุพรอมๆ กับจะมีการตกไขเกิดขึ้น (โคนมลูกผสม
               สวนมากจะมีอายุเขาสูวัยหนุมสาวประมาณ 1-2 ปโดยเฉลี่ย) โคเปนสัดก็หมายถึงโคที่เริ่มจะเปนสาวแลวพรอม
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25