Page 19 -
P. 19

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         7


                       สวนประกอบของน้ํานม (Milk Composition) ประกอบดวย ไขมัน (fat) โปรตีน (protein) น้ําตาล
               แลคโตส (lactose) แรธาตุและวิตามิน (Minerals and Vitamins) โดยปกติความเขมขนของน้ําตาลแลคโตส

               ไมผันแปรมาก จะมีอยูในน้ํานมประมาณ 5 เปอรเซ็นต แรธาตุและวิตามินก็เชนเดียวกัน ซึ่งมีอยูประมาณ 0.7-
               0.8 เปอรเซ็นต สําหรับไขมันและโปรตีนจะผันแปรตามพันธุโคและการใหอาหาร เชน โคพันธุเจอรซี่จะมีไขมัน
               ในน้ํานมมากกวาโคพันธุโฮลสไตนฟรีเชียน โคที่กินอาหารที่มีเยื่อใย (fiber) สูงจะมีไขมันในน้ํานมสูงกวาโคที่
               ไดรับอาหารที่เยื่อใยต่ํา โคที่ไดรับอาหารที่มีโปรตีนไหลผาน (bypass – protein) สูง จะมีโปรตีนในน้ํานมสูง

               กวาโคที่ไดรับอาหารที่มีโปรตีนไหลผานต่ํา
                       ระยะการใหนม (Length of Lactation) และการใหนมทน (Persistency) มาตรฐานระยะการใหนม
               ควรประมาณ 300 วันขึ้นไปตอระยะใหนม แตโคบางตัวและบางพันธุ (โดยเฉพาะโคอินเดีย) จะใหนมไดนอย

               กวา 300 วันการคัดเลือกโคนมที่ใหนมไดนานเปนสิ่งที่จําเปนเพราะหมายถึงการเพิ่มปริมาณน้ํานมตอระยะ
               การใหนม
                       การปลอยนม (Milk Let Down) ปกติโคยุโรปจะเชื่อง เลี้ยงงาย และปลอยนมเต็มที่ถารีดถูกวิธี แตโค
               อินเดียตองใชลูกเทียบหรือกระตุนกอนจึงจะปลอยนมอายุเมื่อคลอดลูกตัวแรก (Age at first Calving) อายุให

               ลูกตัวแรกของโคอินเดียหรือโค-พื้นเมืองไทยจะมากกวาโคยุโรป โคที่ใหลูกตัวแรกเร็วกวาจะทําใหผูเลี้ยงได
               รายไดเร็วขึ้น
                       ขนาดของโคและอัตราการเจริญเติบโต (Body Size and Growth Rate) โคที่มีขนาดใหญมักใหนม
               มากกวาโคที่มีขนาดเล็ก เชนเดียวกันกับโคที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว ไมแคระแกรนในชวงที่เปนลูกโคหรือโค

               รุน มักใหนมมากกวาโคที่มีอัตราการเจริญเติบโตชา อยางไรก็ตามโคที่มีขนาดใหญจะกินอาหารมากกวาโคที่มี
               ขนาดเล็ก ปจจุบันในตางประเทศ เชน ประเทศนิวซีแลนดพยายามคัดเลือกโคที่มีขนาดเล็กแตมีความสามารถ
               ในการใหน้ํานมมากกวาหรือเทาๆ กับโคที่มีขนาดใหญ เพื่อจะไดประหยัดอาหาร โคที่มีอัตราการเจริญเติบโต
               เร็วมีความสําคัญตอการผลิตโคเนื้อจากลูกโคนมเพศผู


               2.1.5 อิทธิพลของสภาพแวดลอมที่มีผลตอผลผลิตน้ํานมของโคนม
                       สภาพแวดลอมตาง ๆ เชน อาหาร การจัดการ ฤดูกาลคลอด มีอิทธิพลตอผลผลิตน้ํานมและ

               สวนประกอบของน้ํานม นอกจากนี้ปจจัยทางสรีรวิทยาก็มีสวนในความผันแปรของลักษณะที่แสดงออกของ
               ปริมาณน้ํานม เชน อายุ ระยะหางระหวางการคลอดลูก และระยะหยุดรีดนม ซึ่งพอจะสรุปไดดังนี้
                       อายุของแมโค (Age of Cow) ผลผลิตน้ํานมของแมโคจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงจนกระทั่งรางกายมี
               การพัฒนาเต็มที่ (ประมาณ 6-8 ป) หลังจากนั้นผลผลิตของแมโคจะลดลงในอัตราที่เพิ่มขึ้น

                       อายุเมื่อคลอดลูกตัวแรก (Age at first Calving) ผลผลิตน้ํานมตอระยะใหนมจะเพิ่มขึ้นตามการเพิ่ม
               อายุเมื่อคลอดลูกตัวแรก จนกระทั่งอายุ 36 เดือน น้ําหนักตัวโคเมื่อคลอดลูกก็มีอิทธิพลตอผลผลิตน้ํานม โค
               คลอดลูกเมื่อน้ําหนักมากก็จะใหนมมากดวย

                       ระยะหางระหวางการคลอดลูกแตละตัว (Calving Interval) ปริมาณน้ํานมที่แตละระยะใหนม มี
               อิทธิพลมาจากทั้งระยะกอนและหลังการคลอดลูก ถาระยะหางระหวางการคลอดลูกแตละตัวสั้น จะทําให
               ปริมาณน้ํานมนอย ทั้งระยะใหนมปจจุบันและในระยะใหนมตอๆไป ถาระยะหางระหวางการคลอดลูกแตละตัว
               ยาว โคจะใหปริมาณน้ํานมมากในระยะใหนมนั้น ๆ ระยะหางระหวางการคลอดลูกแตละตัวที่เหมาะสมอยู
               ระหวาง 12-14 เดือนในโคทุกๆ พันธุ

                       ระยะหยุดรีดนม (Dry Period) ปริมาณน้ํานมที่ผลิตเมื่อคลอดลูกตัวที่สองหรือตัวถัดๆ ไปจะมี
               ผลกระทบจากระยะเวลาหยุดรีดนมกอนคลอดลูก (Dry Period) ปริมาณผลผลิตน้ํานมจะเพิ่มขึ้นตามการเพิ่ม
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24