Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       ส่วนที่



                                         กำรผลิตโคเนื้อเชิงกำรค้ำ                                        4









               4.1   กำรผลิตโคเนื้อเชิงกำรค้ำคืออะไร

                       การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า หมายถึง กระบวนการผลิตโคเนื้อเพื่อให้ได้เนื้อโคเพื่อบริโภค ซึ่งมีความเชื่อมโยง

               กันตั้งแต่การผลิตลูกโค การเลี้ยงโครุ่น การเลี้ยงโคขุน และการช�าแหละแปรรูป
                       อธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ก็คือการเลี้ยงโคเนื้อที่มีระบบแบบแผน มีเปาหมายของการเลี้ยง เป็นการเลี้ยงโคเนื้อ
               ตามหลักวิชาการ เลี้ยงแบบฟาร์มเป็นการค้าในพื้นที่ตนเอง มีคอกและโรงเรือนต่างๆ มีการท�าแปลงหญ้า

               มีการเก็บส�ารองอาหารสัตว์ เช่น ท�าหญ้าหมัก หญ้าแห้ง ไว้ให้โคกินในฤดูแล้ง อาจหาซื้ออาหารสัตว์มาใช้
               เลี้ยงเสริมบ้าง เช่น ผลพลอยได้การเกษตร อาหารข้น มีการบันทึกข้อมูลสถิติต่างๆ เกี่ยวกับโคเนื้อ (จัดท�า

               ทะเบียนฟาร์ม) มีการบันทึกรายรับ-รายจ่ายด้านต่างๆ (บัญชีฟาร์ม)
                       การเลี้ยงโคเนื้อในรูปแบบของการท�าฟาร์มในเชิงการค้าแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์
               ของการเลี้ยงดังนี้

                       1.   การเลี้ยงเพื่อจ�าหน่ายโคส�าหรับใช้เป็น พ่อ-แม่พันธุ์ การท�าฟาร์มในลักษณะนี้ได้มุ่งเน้นไปที่
               การปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์เป็นหลัก ทั้งนี้เนื่องจากต้องการที่จะจ�าหน่ายผลผลิตของฟาร์มออกไปในรูป

               ของการจ�าหน่ายพ่อ-แม่พันธุ์โคเนื้อ เช่นฟาร์มเลี้ยงโคบราห์มันพันธุ์แท้ ผลผลิตที่ได้จะจ�าหน่ายออกโดยมี
               การจัดแบ่งคุณภาพและมาตรฐานตามเกรดของโคแต่ฟาร์มลักษณะนี้จะมีไม่มากนักเพราะลงทุนค่อนข้างสูง
                       2.  การเลี้ยงเพื่อผลิตลูกโคที่จะน�าไปขุน เป็นการเลี้ยงโคเนื้อเชิงการค้าที่ได้รับความนิยมอย่างมาก

               ในปัจจุบัน มีทั้งฟาร์มขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก เพื่อปอนโคเนื้อให้กับผู้ท�าธุรกิจการเลี้ยงโคขุน
               อีกต่อหนึ่ง โคแม่พันธุ์ที่เลี้ยงส่วนใหญ่เป็นโคลูกผสมบราห์มัน รายได้หลักของฟาร์มจะได้จากการจ�าหน่ายลูกโค
               อายุ 1 ปีถึง 1 ปีครึ่ง ในขณะเดียวกันลูกโคเพศเมียที่เกิดขึ้นอาจจะจ�าหน่ายไปเป็นโคแม่พันธุ์ส�าหรับการผลิต

               ลูกโคเข้าขุนในระบบต่อไป


               4.2  สิ่งจ�ำเป็นที่ควรมีในระบบกำรผลิตโคเนื้อเชิงกำรค้ำ

                       1)   มีการจัดตั้งองค์กรหรือหน่วยหลักที่จะขับเคลื่อนงานทั้งระบบในรูปของ กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน

               สหกรณ์ ชมรม สมาคม ฯลฯ
                       2)   มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกิจการจากทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร เพื่อท�าหน้าที่
               ก�าหนดนโยบาย ให้ความเห็นชอบแผนยุทธศาสตร์การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า อ�านวยการควบคุมติดตาม ประเมินผล

               ตลอดจนสนับสนุนให้ความช่วยเหลือการด�าเนินการด้านต่างๆ
                       3)   มีการแต่งตั้งคณะท�างานฝ่ายต่างๆตามแผนยุทธศาสตร์จากทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร

               เพื่อท�าหน้าที่ ร่วมคิด ร่วมท�างานการพัฒนาการผลิตโคเนื้อเชิงการค้า
                       4)   มีการจัดท�าแผนยุทธศาสตร์การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า โดยมีทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วม
                       5)   มีการน�าแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

                       6)   มีการควบคุมและประเมินยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ


                                                                           คู่มือปฏิบัติงาน การผลิตโคเนื้อเชิงการค้า ส�าหรับเจ้าหน้าที่  59
                                                                     Commercial Beef Cattle Production Work Manual Official Edition
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66